ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว
บรรทัด 1:
{{pp|small=yes}}
{{กล่องข้อมูล ผู้นำประเทศ
| honorific-prefix = [[ศาสตราจารย์]]
| name = สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์
| honorific-suffix = <br>[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย|ป.ม.]], [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก|ท.ช.]]
| image = Suchatvee Suwansawat 14 Oct 2022.jpg
| caption = สุชัชวีร์ในปีชัชวีร์ใน พ.ศ. 2565
| order2 = [[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง#ทำเนียบผู้ประศาสน์การและอธิการบดี|อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]]
| term_start2 = 2 ตุลาคม พ.ศ. 2558 <ref name="RT1"> {{Cite report |title= ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง |url=https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=17123390 | publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]] |edition=เล่ม 137 |chapter= ตอนพิเศษ 49 ง. | page=8|date=2 March 2020 |language=Th }}</ref>
| term_end2 = 12 ธันวาคม พ.ศ. 2564<ref>{{Cite web|date=9 Dec 2021|title=“พี่เอ้ ดร.สุชัชวีร์” ลาออกจากอธิการบดีสจล.|url=https://www.pptvhd36.com/news/การเมือง/162186|url-status=live|website=pptvhd36.com|language=th}}</ref>
| predecessor2 = ศาสตราจารย์ [[โมไนย ไกรฤกษ์]] <br>{{เทาเล็ก|(รักษาราชการแทน)}}
| successor2 = รองศาสตราจารย์ [[อนุวัฒน์ จางวนิชเลิศ]] <br>{{เทาเล็ก|(รักษาราชการแทน)}}
| order3 = [[สภาวิศวกร|นายกสภาวิศวกร]]
| term_start3 = 19 มีนาคม พ.ศ. 2562<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=17076774 ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งกรรมการในคณะกรรมการสภาวิศวกร [จำนวน ๕ ราย ๑. นายสุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ ฯลฯ]], เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๙๕ ง หน้า ๕, ๑๗ เมษายน ๒๕๖๒</ref>
| term_end3 = 8 ธันวาคม พ.ศ. 2564<ref name="SP1"/>
| predecessor3 = [[กมล ตรรกบุตร]]<ref>{{cite web |title=คณะกรรมการสภาวิศวกร สมัยที่ 6 (2558-2561) |url=https://coe.or.th/about/engineer-g6/ |author= |website= [[สภาวิศวกร]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221115040604/https://coe.or.th/about/engineer-g6/|archive-date=2022-11-15 |date=2015|access-date=2022-11-15 |language=th }}</ref>
| successor3 = รองศาสตราจารย์ [[ปิยะบุตร วานิชพงษ์พันธุ์]]<ref>{{cite news |title = คณะกรรมการสภาวิศวกร ได้มีมติเลือก รองศาสตราจารย์ ปิยะบุตร วาณิชพงษพันธุ์ ดำรงตำแหน่งนายกสภาวิศวกร |url= https://m.facebook.com/coethailand/photos/a.108208687412134/443542260545440/|author= สภาวิศวกร - Council of Engineers Thailand |website= |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221115034427/https://m.facebook.com/coethailand/photos/a.108208687412134/443542260545440/ |archive-date=2022-11-15 |date=2021-12-09|access-date=2022-11-15 |language=th }}</ref>
| successor3 = รองศาสตราจารย์ ปิยะบุตร วานิชพงษ์พันธุ์<ref>{{cite news |title=
| birth_title =
คณะกรรมการสภาวิศวกร ได้มีมติเลือก รองศาสตราจารย์ ปิยะบุตร วาณิชพงษพันธุ์ ดำรงตำแหน่งนายกสภาวิศวกร |url= https://m.facebook.com/coethailand/photos/a.108208687412134/443542260545440/|author= สภาวิศวกร - Council of Engineers Thailand |website= |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221115034427/https://m.facebook.com/coethailand/photos/a.108208687412134/443542260545440/ |archive-date=2022-11-15 |date=2021-12-09|access-date=2022-11-15 |language=th }}</ref>
| birth_date = {{วันเกิดและอายุ|2515|4|20}}
| birth_title =
| birth_place = [[อำเภอศรีราชา]] [[จังหวัดชลบุรี]] ประเทศไทย<ref name="SP1"/>
| birth_date = {{วันเกิดและอายุ|2515|4|20}} <ref name="SP1">{{cite news |title=เปิดประวัติ สุชัชวีร์ (ดร.เอ้) "The Disruptor เมืองไทย" |url= https://www.springnews.co.th/infographic/822942 |author= NATT W. |website= [[สปริงนิวส์]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221115035251/https://www.springnews.co.th/infographic/822942 |archive-date=2022-11-15 |date=2022-04-07|access-date=2022-11-15 |language=th }}</ref>
|constituency| party = [[พรรคประชาธิปัตย์|ประชาธิปัตย์]]
| birth_place = [[อำเภอศรีราชา]] [[จังหวัดชลบุรี]] ประเทศไทย<ref name="SP1"/>
| spouse = [[สวิตา สุวรรณสวัสดิ์]]
|constituency| party = [[พรรคประชาธิปัตย์|ประชาธิปัตย์]]
| occupation = {{hlist|[[นักการเมือง]]|[[วิศวกร]]|[[นักวิชาการ]]|[[อาจารย์]]}}
| spouse = สวิตา สุวรรณสวัสดิ์
| alma_mater = {{ubl|[[ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]] ([[วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต|วศ.บ.]])|[[มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน]] ([[ปริญญาโท|วท.ม]]) |[[สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์]] ([[ปริญญาโท|วท.ม]]), ([[ปริญญาเอก|วท.ด]])}}
| occupation = {{hlist|[[นักการเมือง]]|[[วิศวกร]]|[[นักวิชาการ]]|[[อาจารย์]]}}
| signature = Signature of Professor Suchatvee Suwansawat, Ph.D.png
| alma_mater = {{ubl|[[ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]] ([[วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต|วศ.บ.]])|[[มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน]] ([[ปริญญาโท|วท.ม]]) |[[สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์]] ([[ปริญญาโท|วท.ม]]), ([[ปริญญาเอก|วท.ด]])}}
| website = {{unbulleted list|{{URL|https://www.suchatvee.org|suchatvee.org}}}}
| signature =Signature of Professor Suchatvee Suwansawat, Ph.D.png
| website = {{unbulleted list|{{URL|https://www.suchatvee.org|suchatvee.org}}}}
| สังกัด =
| เหล่าทัพ =
| รับราชการทหาร =
| ยศ =
| หน่วยทหาร =
| บัญชาการ =
| สงคราม =
| รางวัล =
| footnotes =
}}
 
ศาสตราจารย์ '''สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์''' ({{ชื่อเล่น|เอ้}} เกิด 20 เมษายน พ.ศ. 2515) เป็น[[ศาสตราจารย์]] ในสาขา [[วิศวกรรมโยธา]] [[วิศวกร]] [[นักวิชาการ]] และ[[นักการเมือง]]ชาวไทย เขายังเคยดำรงตำแหน่งเป็น[[อธิการบดี]] [[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]] ลำดับที่ 6 โดยดำรงตำแหน่ง 2 สมัยระหว่างปี 2558 ถึง 2564 และยังเคยดำรงตำแหน่งนายกสภาวิศวกร นายกวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย และประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย ก่อนเปิดตัวเข้าร่วมและลงสมัครรับเลือกตั้ง[[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]]ในนาม[[พรรคประชาธิปัตย์]]<ref>{{Cite web|date=2021-12-14|title=เตรียมตัวมา 30 ปี "สุชัชวีร์" พร้อมชิงผู้ว่าฯ กทม.|url=https://news.thaipbs.or.th/content/310643|website=[[สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส|Thai PBS]]}}</ref>
 
== ประวัติและการศึกษา ==
สุชัชวีร์เกิดเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2515 เป็นบุตรชายของ นายธีรศักดิ์ และนางวัลลีย์ สุวรรณสวัสดิ์ ได้รับทุนโควตาช้างเผือกเข้าศึกษาระดับปริญญาตรีที่[[คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]] จากนั้นได้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท M.Sc. ในสาขา Geotechnical Engineering จากมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน ปริญญาโท M.Sc. ในสาขา Technology and Policy และระดับปริญญาเอก Sc.D. ในสาขา Geotechnical Engineering จากสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (MIT) ประเทศสหรัฐอเมริกา
สุชัชวีร์เกิดเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2515 ที่ [[อำเภอศรีราชา]] [[จังหวัดชลบุรี]] ประเทศไทย<ref name="SP1"/> บุตรชายของ นายธีรศักดิ์ และนางวัลลีย์ สุวรรณสวัสดิ์ ซึ่งทั้งคู่เป็นครูอาชีวะอยู่ที่ [[จังหวัดระยอง ]]<ref>{{cite news |author=NATT.W |title= เปิดประวัติ สุชัชวีร์ (ดร.เอ้) "The Disruptor เมืองไทย"|url= https://www.springnews.co.th/infographic/822942|website=[[สปริงนิวส์]] |access-date=2022-11-23 |archive-url= https://web.archive.org/web/20221123075636/https://www.springnews.co.th/infographic/822942 |archive-date=2022-11-23|language=Th |date=7 April 2022}}</ref><ref name="TPB">{{cite news |title= ‘Disruptor’ Suchatvee Suwansawat ready to shine his bright light on Bangkok |url= https://www.thaipbsworld.com/disruptor-suchatvee-suwansawat-ready-to-shine-his-bright-light-on-bangkok/ |website= [[สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส|Thai PBS]]|access-date=2022-11-23|language=en |date=14 December 2021|archive-url= |archive-date=|language=th}}</ref>
 
=== การลงสมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ===
สุชัชวีร์ได้เข้าศึกษาในระดับชั้น[[มัธยมศึกษา]]ที่[[โรงเรียนระยองวิทยาคม]] <ref name="TPB"/><ref name="CMK">{{cite web|title="Suchatvee Suwansawat" |url= https://www.cmkl.ac.th/people/suchatvee-suwansawat|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20221031031922/https://www.cmkl.ac.th/people/suchatvee-suwansawat/|archive-date=25 October 2017|access-date=31 October 2022}}</ref> ก่อนเข้าศึกษาต่อในระดับ[[ปริญญาตรี]] สาขา[[วิศวกรรมโยธา|วิศวกรรมการก่อสร้าง]] ที่[[คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง|คณะวิศวกรรมศาสตร์ ]][[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]] โดยเขาได้ทำโปรเจคจบเกี่ยวกับ "การออกแบบอุโมงค์รถไฟใต้ดินของ [[กรุงเทพ]]" จากนั้นได้ไปศึกษาระดับ[[ปริญญาโท]] ในสาขา[[วิศวกรรมโยธา]]จากมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน กับ ปริญญาโทสาขาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนโยบาย และระดับ[[ปริญญาเอก]] ในสาขาวิศวกรรมปฐพี จาก [[สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ]](MIT) [[ประเทศสหรัฐอเมริกา]]<ref>{{cite web|title="Professor Dr. Suchatvee Suwansawat" |url= https://www.bcpggroup.com/en/management-structure/board-of-directors/17/professor-dr-suchatvee-suwansawat |url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20221031032501/https://www.bcpggroup.com/en/management-structure/board-of-directors/17/professor-dr-suchatvee-suwansawat|archive-date=31 October 2022|access-date=31 October 2022}}</ref>โดยเขาได้รับทุนจาก[[รัฐบาลไทย]]เพื่อศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษา และเป็น[[นักวิชาการ]]ของ[[ไมโครซอฟต์]]ขณะศึกษาอยู่ที่เอ็มไอที<ref name="CMK"/>
สุชัชวีร์ตัวเขามีกระแสข่าวมาหลายปีแล้วว่าเตรียมลงสมัครรับเลือกตั้งในตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยมีการนำเสนอนโยบายตัวเองและแนวคิดนโยบายต่าง ๆ มาโดยตลอด และในช่วงปลายปี 2564 ก็มีข่าวว่าเขาพยายามมองหาพรรคการเมืองสังกัด จนวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ที่ประชุมคณะกรรมการบริหาร[[พรรคประชาธิปัตย์]]มีมติเป็นเอกฉันท์เห็นชอบให้สุชัชวีร์เป็นสมาชิกพรรค และเป็นผู้สมัครรับเลือกตั้ง [[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]]ในสังกัดของพรรค โดยสุชัชวีร์ได้ยื่นใบลาออกจากตำแหน่งอธิการบดี [[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]] มีผลในวันเดียวกัน<ref name=":1">{{Cite news|date=10 Dec 2021|title=“พี่เอ้” สุชัชวีร์ ชายผู้ประกาศตัว “ไม่กลัวทัวร์” ก่อนเปิดตัวลงผู้ว่าฯ กทม.|language=th|work=BBC News ไทย|url=https://www.bbc.com/thai/thailand-59604588|url-status=live|access-date=2022-06-15}}</ref>
== การทำงาน ==
หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2565 สุชัชวีร์ ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งใน[[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2565|การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]] ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ แต่ไม่ได้รับเลือกตั้ง
===สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง===
สุชัชวีร์เริ่มอาชีพในตำแหน่ง[[อาจารย์]] ประจำสาขา[[วิศวกรรมโยธา]]ที่[[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]]ในปี พ.ศ. 2546<ref name="BBC">{{cite news|title=สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ : จาก "พี่เอ้" อธิการบดี สจล. ผู้ "ไม่กลัวทัวร์" ก่อนเปิดตัวลงผู้ว่าฯ กทม.|url= https://www.bbc.com/thai/thailand-59604588|website=[[BBC]] |url-status=live|archive-url= https://web.archive.org/web/20221101082712/https://www.bbc.com/thai/thailand-59604588|archive-date=1 November 2022 |date= 10 December 2021 |access-date=1 November 2022|language=Th }}</ref> ซึ่งเขามีความเชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมธรณีเทคนิค การก่อสร้างใต้ดินและ[[อุโมงค์]]<ref>{{cite web|title=บัญชีรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อทำหน้าที่ประเมินผลงานทางวิชาการ จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการ|url= http://www.basd.mhesi.go.th/Page/Search_Assessment_2.aspx?ctl00_body_RadGrid1ChangePage=255_20 |website= www.basd.mhesi.go.th |url-status=live |date= 27 December 2019 |access-date=1 November 2022|language=Th }}</ref> ซึ่งเขาได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยอธิการบดีในปีเดียวกัน <ref name="MGR">{{cite news|title=หมายเลข 4 ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ พรรคประชาธิปัตย์|url= https://mgronline.com/politics/detail/9650000044532 |website= mgronline.com |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221101082900/https://mgronline.com/politics/detail/9650000044532 |archive-date=1 November 2022|date=11 May 2022 |access-date=1 November 2022|language=Th }}</ref>
== ข้อวิพากษ์วิจารณ์ ==
 
ในปี พ.ศ. 2553 สุชัชวีร์ได้รับการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็น[[ศาสตราจารย์]]ด้าน[[วิศวกรรมโยธา]]ที่ [[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]]<ref>{{Cite report |title= ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งศาสตราจารย์ |url= https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=1946901| publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]]|edition=เล่มที่ 129 |chapter=ตอนพิเศษ 166 ง. |page=9|date=31 October 2012 |language=Th }}</ref> และคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ในปีเดียวกัน <ref name="MGR"/>
 
สุชัชวีร์ได้รับการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดี [[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]] สมัยแรกในปี พ.ศ. 2558 <ref name="RT1"/> และดำรงตำแหน่งสมัยที่สองในปี พ.ศ. 2562 <ref>{{Cite report |title= ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง |url=https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=17123390 | publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]] |edition=เล่มที่ 137 |chapter= ตอนพิเศษ 49 ง. | page=8|date=2 March 2020 |language=Th }}</ref>
 
ในระหว่างที่เขาดำรงตำแหน่งอธิการบดี สจล.ได้มีการสร้างความร่วมมือด้านการวิจัยและการศึกษากับ[[มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน]] ทำให้เกิดการจัดตั้ง [[มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล]] ขึ้นในปี พ.ศ. 2560<ref>{{cite news |first1=Krista |last1=Burns |title= CMU and KMITL Announce Research and Education Collaboration |url= https://www.cmu.edu/news/stories/archives/2017/november/thailand-collaboration.html |website=Carnegie Mellon University |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20220901033106/https://www.cmu.edu/news/stories/archives/2017/november/thailand-collaboration.html |archive-date=1 November 2022|date= 28 November 2017 |access-date=1 November 2022|language=en }}</ref> <ref>{{cite news |title= CMKL’s AI Supercomputer Leads the Battle Against COVID-19|url=https://www.bangkokpost.com/thailand/pr/2200451/cmkls-ai-supercomputer-leads-the-battle-against-covid-19 |website=[[บางกอกโพสต์]] |url-status=live |date= 19 October 2021 |access-date=1 November 2022|language=en }}</ref> มีการจัดตั้ง Kosen-KMITL เพื่อพัฒนากำลังคนด้านเทคโนโลยี วิศวกรรม และนวัตกรรมภายใต้บันทึกความเข้าใจระหว่างสถาบัน[[โคเซ็น]]กับสจล..<ref>{{cite web |title= Kosen-KMITL History |url= http://www.kosen.kmitl.ac.th/en/home/history |website= Kosen-KMITL |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221101093832/http://www.kosen.kmitl.ac.th/en/home/history|archive-date=1 November 2022|date= 2019|access-date=1 November 2022|language=en }}</ref><ref>{{cite news |title= ศธ.ผุดสถาบันไทยโคเซ็น ผลิตวิศวกรนักปฏิบัติป้อน EEC |url= https://www.prachachat.net/education/news-272066|website=[[ประชาชาติ]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221101094644/https://www.prachachat.net/education/news-272066 |archive-date=1 November 2022|date= 30 December 2018|access-date=1 November 2022|language=th }}</ref><ref name="THS">{{cite news |first1=ฐานเศรษฐกิจ |last1=ดิจิทัล |title= รู้จัก สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อดีตอธิการบดี สจล. สู่สนามเลือกตั้งกทม. |url= https://www.thansettakij.com/politics/519562|website= [[ฐานเศรษฐกิจ]] |url-status= |date= 31 March 2022|access-date=1 November 2022|language=th }}</ref> จัดตั้งสถาบันสอนการเขียนโปรแกรม [[42 บางกอก]] ที่สจล. ผ่านบันทึกความเข้าใจระหว่างสจล. กับ สถาบันEcole 42 [[ปารีส]]ประเทศ[[ฝรั่งเศส]] ในปี พ.ศ. 2562 <ref>{{cite web |title= The Founding of 42 Bangkok |url= https://www.42bangkok.com/about-us/ |website=42 Bangkok |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221101093056/https://www.42bangkok.com/about-us/|archive-date=1 November 2022|date= 15 October 2019 |access-date=1 November 2022|language=en }}</ref><ref>{{cite news |title="Ecole 42 Bangkok" เรียนฟรีนักโปรแกรมเมอร์ระดับโลก|url= https://www.bangkokbiznews.com/social/860348 |website= Bangkokbiznews |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221101093415/https://www.bangkokbiznews.com/social/860348 |archive-date=1 November 2022|date= 3 January 2020 |access-date=1 November 2022|language=th }}</ref> ริเริ่มจัดสร้างโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ซึ่งเขายังมีตำแหน่งเป็นประธานมูลนิธิในปี พ.ศ. 2564 <ref>{{Cite report |title= Notification of King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang Re: Establishment of Divisions of King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang (No.18), B.E. 2564 (A.D. 2021) |url=https://law.kmitl.ac.th/wp-content/uploads/2022/05/4.17-%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%99-%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87-%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%99-%E0%B8%89.18-%E0%B8%9E.%E0%B8%A8.-2564.pdf| publisher= [[ราชกิจจานุเบกษา]] |edition=เล่ม 138 |chapter= ตอนพิเศษ 49 ง. | page=67|date=28 January 2021 |language=en }}</ref>เพื่อรักษาและสนับสนุนศูนย์วิจัยนวัตกรรมทางการแพทย์ครบวงจร ทำให้ภาครัฐลดการนำเข้าเทคโนโลยีทางการแพทย์จากต่างประเทศ กระจายความช่วยเหลือโรงพยาบาลทั้งในประเทศและต่างประเทศ และสามารถต่อยอดนวัตกรรมทางการแพทย์สู่เชิงพาณิชย์ได้ในอนาคต<ref>{{cite web|title=ประวัติความเป็นมา|url= https://kmchf-pp.org/%e0%b8%9b%e0%b8%a3%e0%b8%b0%e0%b8%a7%e0%b8%b1%e0%b8%95%e0%b8%b4%e0%b8%84%e0%b8%a7%e0%b8%b2%e0%b8%a1%e0%b9%80%e0%b8%9b%e0%b9%87%e0%b8%99%e0%b8%a1%e0%b8%b2/ |website= KMCHF |url-status=live |access-date=2 November 2022|language=Th }}</ref><ref>{{cite news |title= สจล.รุกตั้ง "โรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร" เป็นศูนย์การแพทย์ |url= https://www.thairath.co.th/news/local/2074365 |website=[[ไทยรัฐ]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221102025317/https://www.thairath.co.th/news/local/2074365|archive-date=2 November 2022| date= 22 April 2021 |access-date=2 November 2022|language=th }}</ref><ref>{{cite news |author=โซเชียลนิวส์ |title= สจล. เดินเครื่องก่อสร้าง "รพ. พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร" คาดแล้วเสร็จใน 2 ปี หนุนการเข้าถึงระบบสาธารณสุข และ นวัตกรรมทางการแพทย์|url= https://www.mcot.net/view/ipVwkmJw |website= [[MCOT]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221102024255/https://www.mcot.net/view/ipVwkmJw |archive-date=2 November 2022|date= 19 October 2021 |access-date=2 November 2022|language=th }}</ref> นอกจากนี้ยังมีการจัดตั้งคณะและวิทยาลัยใหม่ทั้ง [[คณะแพทยศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง|คณะแพทยศาสตร์]] <ref>{{cite news |title= "วิศวลาดกระบัง "ยืนหนึ่งหลักสูตรมากสุด เป้ายกระดับเป็น 1ใน10อาเซียน |url= https://www.komchadluek.net/news/483126 |author= |website= [[คมชัดลึก]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221111075951/https://www.komchadluek.net/news/483126 |archive-date=2022-11-11 |date=2021-09-11|access-date=2022-11-11 |language=th }}</ref><ref>{{cite news |title= KMITL opens international program in medical science |url= https://thainews.prd.go.th/th/news/detail/WNSOC6103010010035 |author= Thammarat Thadaphrom |website= Nation News Bureau of Thailand |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221111075517/https://thainews.prd.go.th/th/news/detail/WNSOC6103010010035 |archive-date=2022-11-11 |date=2018-03-01|access-date=2022-11-11 |language=en }}</ref> ทำให้ สจล. กลายเป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่ 22 ของไทยที่มีคณะแพทยศาสตร์<ref name=":1" /> วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต (IMSE) <ref>{{cite news |title= "วิศวลาดกระบัง "ยืนหนึ่งหลักสูตรมากสุด เป้ายกระดับเป็น 1ใน10อาเซียน |url= https://www.komchadluek.net/news/483126 |author= |website= [[คมชัดลึก]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221111075951/https://www.komchadluek.net/news/483126 |archive-date=2022-11-11 |date=2021-09-11|access-date=2022-11-11 |language=th }}</ref>โรงเรียนสาธิตนานาชาติพระจอมเกล้า (KMIDS). <ref>{{cite news |title= The Bangkok gubernatorial election explained |url= https://www.thaienquirer.com/35970/the-bangkok-gubernatorial-election-explained |author= Ken Mathis Lohatepanont |website= Thai Enquirer |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221111080707/https://www.thaienquirer.com/35970/the-bangkok-gubernatorial-election-explained/ |archive-date=2022-11-11 |date=2021-12-20|access-date=2022-11-11 |language=en }}</ref><ref>{{cite news |title= เอ้ สุชัชวีร์ บนเก้าอี้อธิการบดี : การพลิกโฉม สจล. สู่มหาวิทยาลัยชั้นนำ |url= https://www.springnews.co.th/news/824104|author= |website= [[สปริงนิวส์]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221111081239/https://www.springnews.co.th/news/824104 |archive-date=2022-11-11 |date=2022-05-06|access-date=2022-11-11 |language=th }}</ref>
 
ในระหว่างที่สุชัชวีร์ดำรงตำแหน่งอธิการบดี สจล. เขาได้รับเลือกเป็นประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย(ทปอ.) 2 วาระติดต่อกันs<ref>{{cite web |title=เกี่ยวกับเรา รายชื่อประธาน |url=http://www.cupt.net/aboutus/ |author= CUPT |website= Council of University Presidents of Thailand (CUPT) |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221103073816/http://www.cupt.net/aboutus/ |archive-date=2022-11-03 |date=2022 |access-date=2022-11-03 |language=th }}</ref> ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 <ref>{{cite news |title=ทปอ. เดินหน้าบทบาท มหาวิทยาลัย 4.0 เลือก 'สุชัชวีร์' นั่ง ปธ.คนใหม่ |url= https://www.thairath.co.th/content/697283 |author= |website=[[ไทยรัฐ]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221103073816/http://www.cupt.net/aboutus/ |archive-date=2022-11-03 |date=2016-08-21 |access-date=2022-11-03 |language=th }}</ref> - 2563 <ref>{{cite news |title='ทปอ.' ยก 'สุชัชวีร์' อธิการ สจล. นั่งเก้าอี้ต่อ ดัน ทีแคส คัดนศ.เข้ามหาวิทยาลัย ปี 62 |url=https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_1466878|author= |website= [[ข่าวสด]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221103075332/https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_1466878 |archive-date=2022-11-03 |date=2018-08-20 |access-date=2022-11-03 |language=th }}</ref>
 
ในปี พ.ศ. 2561 ขณะที่เขาได้ดำรงตำแหน่งประธานทปอ. ได้มีการประกาศให้มีการเปลี่ยนระบบ[[การรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย|การสอบคัดเลือกบุคคลเพื่อเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา]] จากเดิมที่ใช้ระบบ Admission เป็นระบบ TCAS โดยการเปลี่ยนระบบดังกล่าวมีจุดมุ่งหมายเพื่อลดการวิ่งรอกสอบ ลดความเหลื่อมล้ำและช่วยให้นักเรียนอยู่ในห้องจนจบการศึกษา<ref>{{Cite web|date=2017-06-01|title=เปลี่ยนชื่อระบบรับนศ.'แอดมิชชั่น'เป็น'TCAS'|url=https://www.dailynews.co.th/education/577321|website=dailynews|language=th}}</ref> แต่ในปีแรกที่เริ่มใช้ระบบนั้นมีปัญหาเกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก ทั้งปัญหาระบบล่ม<ref>{{Cite web|date=2018-05-09|title=วันแรกก็ล่มแล้ว!! สมัครเข้ามหา'ลัย ระบบ TCAS รอบ 3 นร.บ่นอนาคตเนี่ยจะล่ม|url=https://mgronline.com/qol/detail/9610000045691|website=mgronline.com|language=th}}</ref> ความสับสนของนักเรียนและผู้ปกครองในการใช้ระบบ รวมไปถึงปัญหาด้านที่นั่ง ซึ่งเกิดจากการที่ผู้เข้าสอบคะแนนสูงสามารถเลือกคณะที่ต้องการเข้าศึกษาได้ และยังสามารถสำรองที่นั่งให้ตัวเองได้ ทำให้จำนวนที่นั่งที่มหาวิทยาลัยเปิดรับนั้นเต็มอย่างรวดเร็ว และมีนักเรียนเดือดร้อนเป็นจำนวนมาก เพราะไม่สามารถเลือกคณะที่ต้องการได้<ref>{{Cite web|last=|date=2018-05-30|title=ปัญหา 'กั๊กที่นั่ง' ที่ระบบบังคับ- เมื่อ "TCAS" ระบบสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำเด็ก 'ปวดหัว'|url=https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_1147915|url-status=live|website=ข่าวสด|language=th}}</ref> การเปลี่ยนระบบนี้สร้างความไม่พอใจในหมู่ผู้ปกครอง นักเรียน และบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เพราะเกิดขึ้นอย่างกระชั้นชิด โดยมีเวลาการทำความเข้าใจและปรับตัวกับระบบเพียง 4 เดือน อีกทั้งเวลาในการเตรียมตัวสอบหลังจากเปลี่ยนระบบใหม่มีเพียงแค่ 1 เดือน นอกจากนี้ ค่าสมัครสอบก็ไม่ได้ลดลงแต่อย่างใด และระบบ TCAS ยังมีการวิพากษ์วิจารณ์ว่า ขาดการมีส่วนรวมของนักเรียนในการออกแบบระบบตั้งแต่ต้น<ref>{{Cite web|date=2018-06-13|title=ชำแหละจุดอ่อน TCAS ภาระหนักอึ้งของ #Dek61 สะท้อนปัญหาใหญ่ระบบการศึกษาไทย|url=https://thestandard.co/admission-system-tcas-dek61/|website=THE STANDARD|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|date=2018-06-13|title=กลับตัวก็ไม่ได้ จะเดินต่อไปยังไงให้ถึง? เข้าใจ TCAS และตามหาทางออกของระบบสอบเข้ามหาวิทยาลัยเจ้าปัญหา|url=https://adaymagazine.com/report-tcas-dek61/|website=a day magazine|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|date=2018-05-31|title=TCAS 61 ลงทุนเพื่ออนาคตไป ฉันได้อะไรมา|url=https://waymagazine.org/classroom34/|url-status=live|website=waymagazine.org|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|last=|first=|date=1 Jun 2018|title=บทเรียนเจ็บปวด TCAS : ผู้ใหญ่คิด แต่เด็กรับกรรม|url=https://www.voicetv.co.th/read/H1rhpVCym|url-status=live|website=VoiceTV|language=th}}</ref>
 
ในปี พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2563 เขาได้รับแต่งตั้งให้เป็นประธานสมาคมสถาบันอุดมศึกษาแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้<ref>{{cite web |title=Presidents of ASAIHL|url= https://asaihl.stou.ac.th/page/Showdata.aspx?idindex=15228|website=Association of Southeast Asian Institutions of Higher Learning|url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221103072933/https://asaihl.stou.ac.th/page/Showdata.aspx?idindex=15228 |archive-date=2022-11-03 |date=2021|access-date=2022-11-03 |language=en }}</ref> ซึ่งเป็น[[องค์การนอกภาครัฐ]](NGO) ซึ่งเป็นองค์กรที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยเหลือสถาบันสมาชิกในการเสริมความแข็งแกร่งให้กับตนเองผ่านการช่วยเหลือร่วมกัน ให้สามารถบรรลุความแตกต่างในด้านการสอน การวิจัย และการบริการสาธารณะ ระหว่างสมาชิกสถาบันในประเทศของตนและประเทศอื่นๆที่อยู่ใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] <ref>{{cite web|title=Contact US|url=http://asaihl.stou.ac.th/page/Showdata.aspx?idindex=44249|website= Association of Southeast Asian Institutions of Higher Learning |access-date=8 November 2022}}</ref>
===วิศวกร===
ระหว่างศึกษาที่สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ สุชัชวีร์ได้กลับมาประเทศไทยในช่วงปี 2542-2543 เพื่อทำงานเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมปฐพี ใน[[รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล|โครงการรถไฟฟ้ามหานคร]]<ref name="MIT">{{cite thesis |type=Sc.D. |last=Suwansawat |first=Suchatvee |date=2002 |title=Earth pressure balance (EPB) shield tunneling in Bangkok : ground response and prediction of surface settlements using artificial neural networks |publisher= Massachusetts Institute of Technology |url= http://dspace.mit.edu/handle/1721.1/32222 |access-date=2022-11-09|language=en}}</ref> ณ เวลานั้น เขาได้ก่อตั้งคณะกรรมการยุววิศวกรแห่งประเทศไทย ซึ่งเขาดำรงตำแหน่งประธานคนแรก <ref>{{cite web |title=Engineering Institute of Thailand (Young Engineer chapter) |url=http://afeo.org/yeafeo/yeafeo-thailand/ |author= AFEO |website= The ASEAN Federation of Engineering Organisations (AFEO) |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221109074951/http://afeo.org/yeafeo/yeafeo-thailand/ |archive-date=2022-11-09 |date= |access-date=2022-11-09 |language=en }}</ref> นอกจากนี้เขายังเป็นกรรมการ วิศวกรรมธรณี ของ [[วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์]] ในปี พ.ศ. 2542 <ref name="MIT"/> สุชัชวีร์ยังเป็นสมาชิกของหน่วยงานรัฐบาลที่ตรวจสอบความเสียหายของรันเวย์[[สนามบินสุวรรณภูมิ]] ซึ่งเป็นสนามบินแห่งใหม่ <ref>{{cite news|url=https://www.nytimes.com/2007/02/02/world/asia/02iht-thai.4443883.html |title= Thailand's airport imbroglio grows - Asia - Pacific - International Herald Tribune|first1= Thomas |last1=Fuller |date=February 2, 2007|newspaper=International Herald Tribune|via=The New York Times}}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.iht.com/articles/2007/02/02/news/thai.php |title=Thailand's airport imbroglio grows - International Herald Tribune |website=www.iht.com |url-status=dead |archive-url=https://web.archive.org/web/20070204133305/http://www.iht.com/articles/2007/02/02/news/thai.php |archive-date=2007-02-04}}</ref>
 
สุชัชวีร์ได้รับเลือกเป็นประธานของคณะกรรมการงานก่อสร้างใต้ดินและอุโมงค์ (Thailand Underground and Tunneling Group:TUTG) ในปี พ.ศ. 2555 <ref>{{cite web |title=WTC Bangkok extends official welcome to ITA |url=https://www.tunneltalk.com/WTC2012-Feb12-Official-welcome-from-Thailand.php |author=TunnelTalk |website=TunnelTalk |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221109075859/https://www.tunneltalk.com/WTC2012-Feb12-Official-welcome-from-Thailand.php |archive-date=2022-11-09 |date=2012 |access-date=2022-11-09 |language=en }}</ref> ในฐานะที่เขาเป็นสมาชิกของสมาคมอุโมงค์และพื้นที่ใต้ดินนานาชาติ(International Tunneling and Underground Space Association:ITA) ซึ่งเป็นองค์กรระดับโลกที่ส่งเสริมการใช้พื้นที่ใต้ดินเพื่อประโยชน์ของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม <ref>{{cite news |title=The Thailand Underground and Tunnelling Group (TUTG) of the Engineering Institute of Thailand, under His Majesty the King's Patronage, says the country has the potential to become a hub for Asean underground and tunnel construction, provided it receives m |url=https://www.nationthailand.com/business/30182587 |author= |website= [[เนชั่นทีวี]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221109080330/https://www.nationthailand.com/business/30182587 |archive-date=2022-11-09 |date=2012-05-22|access-date=2022-11-09 |language=en }}</ref>
 
ในปี พ.ศ. 2557 เขาได้รับเลือกเป็นนายก[[วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์]]<ref>{{cite press release |title=กิจกรรมของสภาวิศวกร: แสดงความยินดีกับนายกวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย |url= https://coe.or.th/wp-content/uploads/2021/12/COE-Newsletter5702.pdf |author=PR COE | publisher = The Council of Engineers Thailand |website= |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221109080905/https://coe.or.th/wp-content/uploads/2021/12/COE-Newsletter5702.pdf |archive-date=2022-11-09 |date=2014-01-21 |access-date=2022-11-09 |language=th }}</ref> โดยมีวาระปี พ.ศ. 2557-2559 <ref>{{cite report |title=คำสั่งวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ที่ 001/2557 | chapter= แต่งตั้งลงนามและมอบหมายหน้าที่คณะกรรมการอำนวยการ วาระปี พ.ศ.2557-2559 |url=http://intranet.dcy.go.th/book/book_uploads/8344/%E0%B8%AA%E0%B8%97.0177.pdf | publisher = The Engineering Institute of Thailand |website= Department of Children and Youth |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221109081546/http://intranet.dcy.go.th/book/book_uploads/8344/%E0%B8%AA%E0%B8%97.0177.pdf |archive-date=2022-11-09 |date=2014-01-02 |access-date=2022-11-09 |language=th }}</ref>
 
สุชัชวีร์ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นหนึ่งในกรรมการ[[สภาวิศวกร]] ในปี พ.ศ. 2558 <ref>{{Cite report |title= ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งกรรมการในคณะกรรมการสภาวิศวกร |url= https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=2057912| publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]] |edition= เล่มที่ 132 |chapter=ตอนพิเศษ 289 ง. |page=1|date=9 November 2015 |language=Th }}</ref>ต่อมาเขาได้รับเลือกให้เป็นนายก [[สภาวิศวกร]] ในปี พ.ศ. 2562 <ref>{{Cite report |title= ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งกรรมการในคณะกรรมการสภาวิศวกร |url= https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=17076774 | publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]] |edition= Vol. 136 |chapter=ตอนพิเศษ 95 ง. |page=5|date=17 April 2019 |language=Th }}</ref><ref>{{cite news |title=ศ. ดร. สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ นายกสภาวิศวกร สมัยที่ 7 |url=https://www.engineeringtoday.net/%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%A3%E0%B9%8C-%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%8C/|website= Engineering today |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221109084603/https://www.engineeringtoday.net/%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%A3%E0%B9%8C-%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%8C/ |archive-date=2022-11-09 |date=2019-04-28|access-date=2022-11-09 |language=th }}</ref><ref>{{cite news |title="ศ.ดร.สุชัชวีร์" ดำรงตำแหน่งนายกสภาวิศวกร สมัยที่ 7 ชูบทบาทยกระดับมาตรฐานวิศวกรให้มีความรับผิดชอบต่อสังคม|url=https://www.ryt9.com/s/prg/2978776 |website= RYT9 |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221109085827/https://www.ryt9.com/s/prg/2978776|archive-date=2022-11-09 |date=2019-04-12|access-date=2022-11-09 |language=th }}</ref> โดยเขาได้ลาออกในปี พ.ศ. 2564 เพื่อลงสมัครรับ [[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2565|เลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2565]]<ref>{{cite news |title= "ดร.สุชัชวีร์" ลาออกจากสภาวิศวกร ราชกิจจาฯ เผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งกรรมการในคณะกรรมการสภาวิศวกรแทน |url=https://www.nationtv.tv/news/378869618 |website= [[เนชั่นทีวี]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221109090316/https://www.nationtv.tv/news/378869618 |archive-date=2022-11-09 |date=2022-04-09|access-date=2022-11-09 |language=th }}</ref>
===บทบาทอื่น ๆ===
เมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2551 สุชัชวีร์ได้รับการแต่งตั้งจาก[[คณะรัฐมนตรี]]ให้เป็นกรรมการและได้รับการแต่งตั้งให้เป็น[[โฆษก]]ของคณะกรรมการ [[การรถไฟแห่งประเทศไทย]]<ref>{{Cite report |title= ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการอื่นในคณะกรรมการการรถไฟแห่งประเทศไทย |url= https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=247462 | publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]] |edition= เล่ม 125 |chapter=48 ง. |page=1|date=24 April 2008 |language=Th }}</ref><ref>{{cite news |title=
ข่าวมอนิเตอร์ประจำวันที่ 9 ธันวาคม 2551 |url= https://prachatai.com/journal/2008/12/19273 |author= |website=[[ประชาไท]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221114024417/https://prachatai.com/journal/2008/12/19273 |archive-date=2022-11-14 |date=2008-12-09|access-date=2022-11-14 |language=th }}</ref> จนถึง เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2551 <ref>{{cite report |title=State Railway of Thailand Annual Report 2009 | chapter= คณะกรรมการการรถไฟฯ |page=82 |url= https://www.railway.co.th/RailwayMiddleFile/PlanIMG/83/132930969697312016_Annual_Report_of_SRT-2552.pdf |author= | publisher = [[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] |website= [[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] Official Website |url-status=live |date=2009 |access-date=2022-11-14 |language=th }}</ref>
ในเดือนมกราคม ปี พ.ศ. 2555 สุชัชวีร์ได้รับการแต่งตั้งจาก[[คณะรัฐมนตรี]]ให้เป็นประธานคณะกรรมการ[[การเคหะแห่งชาติ]] <ref>{{Cite report |title= ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการอื่นในคณะกรรมการการเคหะแห่งชาติ |url=https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=1914331 | publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]] |edition=เล่ม 129 |chapter=26 ง. |page=25 |date=31 January 2012 |language=Th }}</ref> โดยเขาได้มีการนำเสนอแผนเปิดตัวโครงการที่พักอาศัย 22 โครงการ จำนวน 7,812 ยูนิต มูลค่า 4,700 ล้านบาท ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556 <ref>{{cite news |title=NHA ready to launch 22 housing projects |url= https://www.bangkokpost.com/business/352505/nha-ready-to-launch-22-housing-projects |website= [[บางกอกโพสต์]] |url-status=live |date=2013-05-30 |access-date=2022-11-14 |language=en }}</ref> จนกระทั่งเขาได้ลาออกเมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2556 <ref>{{cite report |title= รายงานประจำปีการเคหะแห่งชาติปี 2556 | chapter= |url= https://www.nha.co.th/wp-content/uploads/2020/12/report_2556.pdf |author= | page=27 |website= [[การเคหะแห่งชาติ]] Official Website |url-status=live |date=2013 |access-date=2022-11-14 |language=th }}</ref>
ในเดือนสิงหาคม ปี พ.ศ. 2557 หัวหน้า [[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]] (คสช.) ได้แต่งตั้งให้เขาเป็นกรรมการ[[องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ]] (ขสมก.)<ref>{{Cite report |title= ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งกรรมการอื่นในคณะกรรมการบริหารกิจการขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ |url=https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=2068019 | publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]] |edition=Vol. 133 |chapter=65 ง. |page=18 |date=17 March 2016 |language=Th }}</ref>คณะกรรมการบริหารขององค์กรได้มีมติแต่งตั้งให้เขาดำรงตำแหน่งประธานกรรมการ คณะอนุกรรมการส่งเสริมการกำกับดูแลกิจการที่ดี <ref>{{cite report |title= Bangkok Mass Transit Authority Annual Report 2015 | chapter= Order of the Bangkok Mass Transit Authority No.991-2557 |page=72 |url= http://www.bmta.co.th/sites/default/files/files/download/2558.pdf |author= | publisher = [[องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ]] |website= [[องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ]] Official Website |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221114040848/http://www.bmta.co.th/sites/default/files/files/download/2558.pdf |archive-date=2022-11-14 |date=2015 |access-date=2022-11-14 |language=en }}</ref> จนกระทั่งเขาลาออกเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2559 <ref>{{cite report |title= Bangkok Mass Transit Authority Annual Report 2016 | chapter= BMTA Board of Directors (October 2015-30 September 2016) held a total of 15 meeting |page=92 |url= http://www.bmta.co.th/sites/default/files/files/download/2559.pdf |author= | publisher = [[องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ]] |website= [[องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ]] Official Website |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221114041924/http://www.bmta.co.th/sites/default/files/files/download/2559.pdf |archive-date=2022-11-14 |date=2016 |access-date=2022-11-14 |language=en }}</ref>
ในเดือนมิถุนายน ปีพ.ศ. 2561 [[คณะรัฐมนตรี]] ได้มีมติแต่งตั้งให้เขาดำรงตำแหน่งกรรมการ [[การไฟฟ้านครหลวง]] (กฟน.) <ref>{{Cite report |title= ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการอื่นในคณะกรรมการการไฟฟ้านครหลวง |url= https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=2142933 | publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]] |edition=เล่มที่ 135 |chapter=ตอนพิเศษ 142 ง. |page=9 |date=20 June 2018 |language=Th }}</ref> โดยครบกำหนดวาระในวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2564 <ref>{{cite report |title= รายงานประจำปีการไฟฟ้านครหลวง 2021 |chapter= คณะกรรมการ การไฟฟ้านครหลวงปี 2564 |page=74 |url= https://www.mea.or.th/e-magazine/detail/2786/465|author= | publisher = [[ การไฟฟ้านครหลวง]] |website= [[ การไฟฟ้านครหลวง]] Official Website |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221114043507/https://www.mea.or.th/e-magazine/detail/2786/465 |archive-date=2022-11-14 |date=2021 |access-date=2022-11-14 |language=th }}</ref>
 
นอกจากนี้สุชัชวีร์ยังเป็นกรรมการสภา[[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย]] สมัยแรก วันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 <ref>{{Cite report |title= ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย |url= https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=1870390| publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]] |edition=Vol. 128 |chapter=ตอนพิเศษ 28 ง. |page=26 |date=10 June 2011 |language=Th }}</ref> และสมัยที่สอง วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2560<ref>{{Cite report |title= ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย |url= https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=2121980 | publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]] |edition=Vol. 134 |chapter=ตอนพิเศษ 248 ง. |page=3 |date=6 October 2017 |language=Th }}</ref> กรรรมการสภา[[มหาวิทยาลัยรังสิต]] ระหว่างปี พ.ศ. 2559-2564 <ref>{{cite web |title=กรรมการสภามหาวิทยาลัยรังสิต ปี พ.ศ. 2559 |url=https://library.rsu.ac.th/archives/28rsudata_sapa.html |author= หอจดหมายเหตุ [[มหาวิทยาลัยรังสิต]] |website= หอสมุด [[มหาวิทยาลัยรังสิต]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221114063753/https://library.rsu.ac.th/archives/28rsudata_sapa.html |archive-date=2022-11-14 |date=2016|access-date=2022-11-14 |language=th }}</ref><ref>{{cite report |title= รายงานการประชุมคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยรังสิต ครั้งที่ 4/2564 | chapter= |url= https://www2.rsu.ac.th/Upload/File/university-council/%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%95-%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-4-2564.pdf |author= | publisher = สภา[[มหาวิทยาลัยรังสิต]] |website= [[มหาวิทยาลัยรังสิต]] Official Website |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221114064145/https://www2.rsu.ac.th/Upload/File/university-council/%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%95-%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-4-2564.pdf |archive-date=2022-11-14 |date=2021-09-17 |access-date=2022-11-14 |language=th }}</ref>มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2560 <ref>{{Cite report |title= ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา |url= https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=2076799 | publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]] |edition=Vol. 133 |chapter=ตอนพิเศษ 150 ง. |page=19 |date=4 July 2016 |language=Th }}</ref>
 
ปัจจุบัน สุชัชวีร์ดำรงตำแหน่งนายกสมาคมนักเรียนทุนรัฐบาลไทย<ref>{{Cite web|last=|date=2020-12-12|title=ทุนรัฐบาลดีเด่น+ดาวรุ่ง 8 ราย 8 สาขา ขับเคลื่อนประเทศ|url=https://www.prachachat.net/csr-hr/news-570733|url-status=live|website=ประชาชาติธุรกิจ|language=th}}</ref> และดำรงประธานมูลนิธิโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ในพระสังฆราชูปถัมภ์ <ref>{{Cite web|last=|date=2022-10-19|title=รพ.พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารชูเทคโนโลยีการแพทย์ พร้อมให้บริการปี 67|url=https://www.bangkokbiznews.com/biz2u/biz2u_PR/1023441|url-status=live|website=กรุงเทพธุรกิจ|language=th}}</ref>
==บทบาททางการเมือง==
สุชัชวีร์มีกระแสข่าวมาหลายปีแล้วว่าเตรียมลงสมัครรับเลือกตั้งในตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยมีการนำเสนอนโยบายและแนวคิด มาโดยตลอด ในช่วงปลายปี 2564 ก็มีข่าวว่าเขาพยายามมองหาพรรคการเมืองสังกัด จนวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ที่ประชุมคณะกรรมการบริหาร[[พรรคประชาธิปัตย์]]มีมติเป็นเอกฉันท์เห็นชอบให้สุชัชวีร์เป็นสมาชิกพรรค และเป็นผู้สมัครรับเลือกตั้ง [[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]]ในสังกัดของพรรค โดยสุชัชวีร์ได้ยื่นใบลาออกจากตำแหน่งอธิการบดี [[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]] มีผลในวันเดียวกัน<ref name=":1">{{Cite news|date=10 Dec 2021|title=“พี่เอ้” สุชัชวีร์ ชายผู้ประกาศตัว “ไม่กลัวทัวร์” ก่อนเปิดตัวลงผู้ว่าฯ กทม.|language=th|work=BBC News ไทย|url=https://www.bbc.com/thai/thailand-59604588|url-status=live|access-date=2022-06-15}}</ref>
===การลงสมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร===
วันที่ 15 ธันวาคม 2564 สุชัชวีร์ได้ประกาศตัวเป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งได้ลงสมัคร[[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2565|เลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]]ในนาม[[พรรคประชาธิปัตย์]] ในวันที่ 22 พฤษภาคม 2565 ได้มีการลงคะแนน[[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2565|เลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]] ซึ่งเขาไม่ได้รับเลือกตั้ง<ref>{{Cite web|last=|date=2022-05-22|title=“สุชัชวีร์” แถลงรับแพ้เลือกตั้ง ยินดี “ชัชชาติ” เป็นผู้ว่าฯ กทม. คนใหม่|url=https://www.thairath.co.th/news/politic/2399417|url-status=live|website=[[ไทยรัฐ]]|language=th}}</ref> โดยเขาได้รับคะแนนเสียง 254,723 คะแนน (9.60%) เป็นอันดับสอง รองจาก[[ชัชชาติ สิทธิพันธ์]]ซึ่งเป็นผู้ได้รับเลือกเป็น[[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]]<ref>{{cite web|url=https://www.youtube.com/watch?v=s6k3j5BvISc&t=232s
|title=(คลิปเต็ม) เจาะผลเลือกตั้ง ผู้ว่าฯ กทม.-ส.ก|language=thai|date=2022-05-23|accessdate=2022-06-01|work=YouTube|author=MCOT HD}}</ref>
 
== ผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ==
ในเดือนกันยายน ปี พ.ศ. 2565 สุชัชวีร์ได้รับการเสนอชื่อเป็น ผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบ[[ระบบสัดส่วนแบบบัญชีรายชื่อ|บัญชีรายชื่อ]] ของ[[พรรคประชาธิปัตย์]] โดยเขาได้รับมอบหมายให้เป็นหัวหน้าทีมนโยบายการศึกษาทันสมัยของพรรค<ref>{{cite news |title=Suchatvee in city education drive |url= https://www.bangkokpost.com/thailand/politics/2383698/suchatvee-in-city-education-drive |author= Aekarach Sattaburuth |website= [[Bangkok Post]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221111041344/https://www.bangkokpost.com/thailand/politics/2383698/suchatvee-in-city-education-drive |archive-date=2022-11-11 |date=2022-09-04|access-date=2022-11-11 |language=en }}</ref> ต่อมาในเดือนตุลาคม [[จุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์]] หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ได้ลงนามแต่งตั้งเขาให้เป็นประธานคณะทำงานด้านนโยบายของพรรคในเขตพื้นที่[[กรุงเทพมหานครและปริมณฑล]] พร้อมกับ[[วทันยา บุนนาค]]ซึ่งได้รับการมอบหมายให้เป็นประธานคณะทำงานนวัตกรรมการเมืองกรุงเทพฯ <ref>{{cite news |title=Democrats set sights on city |url= https://www.bangkokpost.com/thailand/politics/2411645/democrats-set-sights-on-city |website= [[บางกอกโพสต์]] |url-status=live |archive-url= https://web.archive.org/web/20221111041344/https://www.bangkokpost.com/thailand/politics/2383698/suchatvee-in-city-education-drive |archive-date=2022-11-11 |date=2022-10-11 |access-date=2022-11-11 |language=en }}</ref> เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับ[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ครั้งถัดไป]]
 
== ข้อวิจารณ์ ==
 
=== กรณีคลิปวิดีโอ คณิตสร้างชาติ ===
เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ได้มีกระแสวิพากษ์วิจารณ์สุชัชวีร์จากคลิปวิดีโอ "คณิตสร้างชาติ" ที่มีการนำเสนอแนวคิดว่า การเรียนคณิตศาสตร์มีความสำคัญกว่าการเรียนภาษาต่างๆ<ref>{{Citation|title=เอ้ สุชัชวีร์ - คณิตฯสร้างชาติ {{!}} Facebook|url=https://www.facebook.com/suchatvee.ae/videos/%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%AF%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4/251487658890699/|language=th|access-date=2021-12-24}}</ref> โดยสุชัชวีร์ได้ยกตัวอย่างว่า ประเทศที่มีประชากรพูดได้หลายภาษามีความยากจน แต่ประเทศที่ร่ำรวยและพัฒนาแล้วล้วนเก่งคณิตศาสตร์ ทำให้มีกระแสวิพากษ์วิจารณ์ว่า การเรียนภาษาย่อมสำคัญเท่ากับวิชาคณิตศาสตร์ หรือควรส่งเสริมการเรียนคณิตศาสตร์โดยไม่ลดทอนการเรียนด้านภาษา<ref>{{Cite web|date=2018-10-11|title=หัวใจของการพัฒนาประเทศ ไม่ใช่ภาษา? ประธาน ทปอ. – อธิการบดี สจล. ถูกวิจารณ์กรณีคลิป ‘คณิตฯสร้างชาติ’|url=https://thematter.co/brief/news-1539252000/62220|url-status=live|website=The MATTER|language=th}}</ref>
 
=== ปัญหาในการบริหารจัดการระบบ TCAS ===
ในปี พ.ศ. 2561 ขณะดำรงตำแหน่งประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) สุชัชวีร์ได้ประกาศเปลี่ยนระบบ[[การรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย|การสอบคัดเลือกบุคคลเพื่อเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา]]จากเดิมที่ใช้ระบบ Admission เป็นระบบ TCAS โดยการเปลี่ยนระบบดังกล่าวมีจุดมุ่งหมายเพื่อลดการวิ่งรอกสอบ ลดความเหลื่อมล้ำและช่วยให้นักเรียนอยู่ในห้องจนจบการศึกษา<ref>{{Cite web|date=2017-06-01|title=เปลี่ยนชื่อระบบรับนศ.'แอดมิชชั่น'เป็น'TCAS'|url=https://www.dailynews.co.th/education/577321|website=dailynews|language=th}}</ref> แต่ในปีแรกที่เริ่มใช้ระบบนั้นมีปัญหาเกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก ทั้งปัญหาระบบล่ม<ref>{{Cite web|date=2018-05-09|title=วันแรกก็ล่มแล้ว!! สมัครเข้ามหา'ลัย ระบบ TCAS รอบ 3 นร.บ่นอนาคตเนี่ยจะล่ม|url=https://mgronline.com/qol/detail/9610000045691|website=mgronline.com|language=th}}</ref> ความสับสนของนักเรียนและผู้ปกครองในการใช้ระบบ รวมไปถึงปัญหาด้านที่นั่ง ซึ่งเกิดจากการที่ผู้เข้าสอบคะแนนสูงสามารถเลือกคณะที่ต้องการเข้าศึกษาได้ และยังสามารถสำรองที่นั่งให้ตัวเองได้ ทำให้จำนวนที่นั่งที่มหาวิทยาลัยเปิดรับนั้นเต็มอย่างรวดเร็ว และมีนักเรียนเดือดร้อนเป็นจำนวนมาก เพราะไม่สามารถเลือกคณะที่ต้องการได้<ref>{{Cite web|last=|date=2018-05-30|title=ปัญหา 'กั๊กที่นั่ง' ที่ระบบบังคับ- เมื่อ "TCAS" ระบบสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำเด็ก 'ปวดหัว'|url=https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_1147915|url-status=live|website=ข่าวสด|language=th}}</ref> การเปลี่ยนระบบนี้สร้างความไม่พอใจในหมู่ผู้ปกครอง นักเรียน และบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เพราะเกิดขึ้นอย่างกระชั้นชิด โดยมีเวลาทำความเข้าใจและปรับตัวเพียง 4 เดือน อีกทั้งเวลาในการเตรียมตัวสอบหลังจากเปลี่ยนระบบใหม่มีเพียงแค่ 1 เดือน นอกจากนี้ ค่าสมัครสอบก็ไม่ได้ลดลงแต่อย่างใด และระบบ TCAS ยังถูกวิจารณ์ว่า ขาดการมีส่วนรวมของนักเรียนในการออกแบบระบบตั้งแต่ต้น<ref>{{Cite web|date=2018-06-13|title=ชำแหละจุดอ่อน TCAS ภาระหนักอึ้งของ #Dek61 สะท้อนปัญหาใหญ่ระบบการศึกษาไทย|url=https://thestandard.co/admission-system-tcas-dek61/|website=THE STANDARD|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|date=2018-06-13|title=กลับตัวก็ไม่ได้ จะเดินต่อไปยังไงให้ถึง? เข้าใจ TCAS และตามหาทางออกของระบบสอบเข้ามหาวิทยาลัยเจ้าปัญหา|url=https://adaymagazine.com/report-tcas-dek61/|website=a day magazine|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|date=2018-05-31|title=TCAS 61 ลงทุนเพื่ออนาคตไป ฉันได้อะไรมา|url=https://waymagazine.org/classroom34/|url-status=live|website=waymagazine.org|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|last=|first=|date=1 Jun 2018|title=บทเรียนเจ็บปวด TCAS : ผู้ใหญ่คิด แต่เด็กรับกรรม|url=https://www.voicetv.co.th/read/H1rhpVCym|url-status=live|website=VoiceTV|language=th}}</ref>
=== การเป็นที่ปรึกษาโครงการริมฝั่งเจ้าพระยา ===
เขามีชื่อเป็นที่ปรึกษาโครงการพัฒนาริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งมีงบประมาณถึงหลักหมื่นล้านบาท ทำให้มีศิษย์เก่าของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังยื่นจดหมายให้เขาถอนตัว<ref>{{cite news |title=ปม"สจล."ที่ปรึกษาโครงการริมฝั่งเจ้าพระยา "177ศิษย์เก่าสถาปัตย์"&"ผู้บริหาร" ใครเข้าใจผิด?? |url=https://mgronline.com/daily/detail/9590000041205 |accessdate=25 December 2021 |work=ผู้จัดการ |date=23 April 2016 |language=th}}</ref>
=== ระหว่างหาเสียงเลือกตั้ง ===
วันที่ 15 ธันวาคม 2564 ระหว่างการแถลงนโยบาย สุชัชวีร์ ได้กล่าวว่าตนเคยเรียนกับศาสตราจารย์เฮอร์เบิร์ต ไอน์สไตน์ อาจารย์ประจำภาควิชา[[วิศวกรรมโยธา]] [[สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์]]มาก่อน และได้กล่าวอีกว่า ศาสตราจารย์เฮอร์เบิร์ต เป็นหลานแท้ๆ ของ[[อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์]]<ref name=":0">{{Cite web|last=|date=2021-12-14|title=โป๊ะแล้ว! ‘เออร์เบิร์ต ไอน์สไตน์’ ยันไม่เกี่ยวข้อง ‘อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์’ หลัง ‘สุชัชวีร์’ อ้าง|url=https://www.khaosod.co.th/politics/news_6782685|url-status=live|website=ข่าวสด|language=th}}</ref> ต่อมาได้มีการสอบถามไปทางศาสตราจารย์เฮอร์เบิร์ตผ่านทางอีเมล ได้รับคำตอบว่าตัวเขาไม่ได้เป็นหลานของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ และไม่ได้มีความเกี่ยวข้องใดๆทางสายเลือด และอวยพรให้ สุชัชวีร์ โชคดีในการลงชิงตำแหน่ง[[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]]<ref>{{Cite web|last=|date=2021-12-15|title=สู่ขิต!! เปิดอีเมล์ ศ.เฮอร์เบิร์ต ไอน์สไตน์ อาจารย์พี่เอ้ ปัดไม่ได้เป็นญาติ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์|url=https://www.matichon.co.th/politics/news_3087636|url-status=live|website=มติชนออนไลน์|language=th}}</ref> หลังจากนั้นสุชัชวีร์ได้มีการชี้แจงว่า ที่ตนเชื่อว่าศาสตราจารย์เฮอร์เบิร์ตเป็นหลานของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์นั้น เพราะได้ยินคำบอกเล่ามาจากรุ่นพี่ที่เรียนในสถาบันเดียวกัน และเชื่อโดยบริสุทธิ์ใจมาโดยตลอด<ref>{{Cite web|date=15 Dec 2021|title="ดร.เอ้ สุชัชวีร์" ยันเชื่อ Herbert Einstein เป็นหลานไอน์สไตน์ เพราะรุ่นพี่บอก|url=https://www.sanook.com/news/8489254/|url-status=live|website=www.sanook.com/news|language=th}}</ref> นอกจากนี้ยังมีศิษย์[[สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์]] ที่เคยเรียนกับ เฮอเบิร์ต ไอน์สไตน์ ก็ยืนยันตรงกันกับสุชัชวีร์ <ref>{{Cite web|last=|date=15 Dec 2021|title="ดร.เอ้ สุชัชวีร์" แจงแล้ว เชื่อโดยบริสุทธิ์ใจ เรียนกับหลาน "อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์"|url=https://www.pptvhd36.com/news/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87/162529|url-status=live|website=pptvhd36.com|language=th}}</ref>
 
=== กรณีอื้อฉาวระหว่างหาเสียงเลือกตั้ง ===
เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2564 สุชัชวีร์กล่าวถึงการแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งกรุงเทพมหานครผ่าน[[เฟซบุ๊ก]] โดยเสนอให้วางเตตระพอด (Tetrapod) เรียงตัวเป็นเขื่อนแทนการใช้กระบอกไม้ไผ่<ref>{{Cite web|date=2021-12-30|title=สุชัชวีร์ปิ๊งไอเดีย ใช้เตตระพอดป้องกันกัดเซาะ เจอเสียงค้านชี้ไม่ได้เอาไปวางที่หาด|url=https://mgronline.com/onlinesection/detail/9640000129217|website=mgronline.com|language=th}}</ref> แต่มีเพจเฟซบุ๊กเข้ามาแสดงความคิดเห็นคัดค้าน โดยระบุว่าสุชัชวีร์ไม่เข้าใจความแตกต่างระหว่างหาดกับชายฝั่ง และการกระทำเช่นนี้จะส่งผลกระทบทางลบต่อสัตว์น้ำ นอกจากนี้ พจดังกล่าวยังระบุว่าเพจของสุชัชวีร์มีการปิดกั้นไม่ให้ผู้ที่มีความเห็นต่างได้แสดงความคิดเห็นด้วย<ref>{{Cite web|last=|date=2021-12-30|title=โป๊ะอีกไหม? เพจดัง ยกข้อมูลโต้ 'สุชัชวีร์' ปมปัญหากัดเซาะชายฝั่ง กทม. แนะแยก 'หาด-ฝั่ง' ให้ออก|url=https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_6808398|url-status=live|website=ข่าวสด|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|last=|date=2021-12-30|title=สุชัชวีร์ แจง หลังเพจดังเผยถูกทีมงานบล็อก ท้วงปมใช้ เตตระพอด กันคลื่น สู้น้ำทะเลหนุน|url=https://www.matichon.co.th/politics/news_3110071|url-status=live|website=มติชนออนไลน์|language=th}}</ref>
สุชัชวีร์ได้เปิดตัวเป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในนาม[[พรรคประชาธิปัตย์]] ในวันที่ 15 ธันวาคม 2564 โดยระหว่างการแถลงนโยบาย สุชัชวีร์ ได้กล่าวว่าตนเคยเรียนกับศาสตราจารย์เฮอร์เบิร์ต ไอน์สไตน์ อาจารย์ประจำภาควิชา[[วิศวกรรมโยธา]] [[สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์]] มาก่อน และได้กล่าวอีกว่า ศาสตราจารย์เฮอร์เบิร์ต เป็นหลานแท้ๆ ของ[[อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์]]<ref name=":0">{{Cite web|last=|date=2021-12-14|title=โป๊ะแล้ว! ‘เออร์เบิร์ต ไอน์สไตน์’ ยันไม่เกี่ยวข้อง ‘อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์’ หลัง ‘สุชัชวีร์’ อ้าง|url=https://www.khaosod.co.th/politics/news_6782685|url-status=live|website=ข่าวสด|language=th}}</ref> ต่อมาได้มีการสอบถามไปทางศาสตราจารย์เฮอร์เบิร์ตผ่านทางเฮอร์เบิร์ตผ่านทาง[[อีเมล]] และได้รับคำตอบว่าตัวเขาไม่ได้เป็นหลานของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ และไม่ได้มีความเกี่ยวข้องใดๆทางสายเลือดกับอัลเบิร์ต และอวยพรให้ สุชัชวีร์ โชคดีในการลงชิงตำแหน่ง[[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]]ไอน์สไตน์แต่อย่างใด<ref>{{Cite web|last=|date=2021-12-15|title=สู่ขิต!! เปิดอีเมล์ ศ.เฮอร์เบิร์ต ไอน์สไตน์ อาจารย์พี่เอ้ ปัดไม่ได้เป็นญาติ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์|url=https://www.matichon.co.th/politics/news_3087636|url-status=live|website=มติชนออนไลน์|language=th}}</ref> หลังจากนั้นสุชัชวีร์ได้มีการชี้แจงว่า ที่ตนเชื่อว่าศาสตราจารย์เฮอร์เบิร์ตเป็นหลานของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์นั้น เพราะได้ยินคำบอกเล่ามาจากรุ่นพี่ที่เรียนในสถาบันเดียวกัน และเชื่อโดยบริสุทธิ์ใจมาโดยตลอด<ref>{{Cite web|date=15 Dec 2021|title="ดร.เอ้ สุชัชวีร์" ยันเชื่อ Herbert Einstein เป็นหลานไอน์สไตน์ เพราะรุ่นพี่บอก|url=https://www.sanook.com/news/8489254/|url-status=live|website=www.sanook.com/news|language=th}}</ref> นอกจากนี้ยังมีศิษย์[[สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์]] ศิษย์เก่าเอ็มไอทีที่เคยเรียนกับ ดร.เฮอเบิร์ต ไอน์สไตน์ ก็ยืนยันตรงกันกับสุชัชวีร์ <ref>{{Cite web|last=|date=15 Dec 2021|title="ดร.เอ้ สุชัชวีร์" แจงแล้ว เชื่อโดยบริสุทธิ์ใจ เรียนกับหลาน "อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์"|url=https://www.pptvhd36.com/news/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87/162529|url-status=live|website=pptvhd36.com|language=th}}</ref>
 
เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2564 สุชัชวีร์กล่าวถึงการแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งกรุงเทพมหานครผ่าน[[เฟซบุ๊ก]] โดยเสนอให้วางเตตระพอด (Tetrapod) เรียงตัวเป็นเขื่อนแทนการใช้กระบอกไม้ไผ่<ref>{{Cite web|date=2021-12-30|title=สุชัชวีร์ปิ๊งไอเดีย ใช้เตตระพอดป้องกันกัดเซาะ เจอเสียงค้านชี้ไม่ได้เอาไปวางที่หาด|url=https://mgronline.com/onlinesection/detail/9640000129217|website=mgronline.com|language=th}}</ref> แต่มีเพจเฟซบุ๊กเข้ามาแสดงความคิดเห็นคัดค้าน โดยระบุว่าสุชัชวีร์ไม่เข้าใจความแตกต่างระหว่างหาดกับชายฝั่ง และการกระทำเช่นนี้จะส่งผลกระทบทางลบต่อสัตว์น้ำ นอกจากนี้ พจเพจดังกล่าวยังระบุว่าเพจของสุชัชวีร์มีการปิดกั้นไม่ให้ผู้ที่มีความเห็นต่างได้แสดงความคิดเห็นด้วย<ref>{{Cite web|last=|date=2021-12-30|title=โป๊ะอีกไหม? เพจดัง ยกข้อมูลโต้ 'สุชัชวีร์' ปมปัญหากัดเซาะชายฝั่ง กทม. แนะแยก 'หาด-ฝั่ง' ให้ออก|url=https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_6808398|url-status=live|website=ข่าวสด|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|last=|date=2021-12-30|title=สุชัชวีร์ แจง หลังเพจดังเผยถูกทีมงานบล็อก ท้วงปมใช้ เตตระพอด กันคลื่น สู้น้ำทะเลหนุน|url=https://www.matichon.co.th/politics/news_3110071|url-status=live|website=มติชนออนไลน์|language=th}}</ref>
 
== ชีวิตส่วนตัว ==
เส้น 101 ⟶ 58:
เขายังได้รับฉายา ''“The Disruptor เมืองไทย”'' ในฐานะเป็นผู้พลิกฟื้น สจล. ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอธิการบดี สู่องค์กรระดับนานาชาติ ปรับโครงสร้างการบริหารการศึกษาที่ไม่เอื้อต่อการพัฒนา ปัญหาการเสียดุลทางการแพทย์และเทคโนโลยี ฯลฯ สู่สถาบันอุดมศึกษาชั้นนำแห่งหนึ่งของไทย<ref>{{Cite web|date=2019-08-01|title=THe Disruptor' เมืองไทย สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์|url=https://www.bangkokbiznews.com/lifestyle/842402|website=bangkokbiznews|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|date=2021-09-22|title=ถอดรหัสลับสู่ความสำเร็จในฐานะ The Disruptor แถวหน้าของเมืองไทย|url=https://www.thaipr.net/it/3101480|url-status=live|website=ThaiPR.NET|language=th}}</ref>
 
สุชัชวีร์เป็นคอลัมนิสต์ ''“มองอนาคตไทย”'' ของหนังสือพิมพ์[[โพสต์ทูเดย์]] <ref>{{Cite web|last=|date=2017-02-15|title=ข่าวสื่อมวลชน :มองอนาคตไทย |url=https://www.kmitl.io/th/category/2017-02-15-11-55-37?page=12|url-status=live|website=KMITL|archive-url= https://web.archive.org/web/20221123075147/https://www.kmitl.io/th/category/2017-02-15-11-55-37?page=12 |archive-date=2022-11-23 |access-date=2022-11-23|language=th}}</ref>และเป็นผู้เขียนหนังสือ
 
สุชัชวีร์เป็นผู้เขียนหนังสือ ''“คิดต่างสร้างการเปลี่ยนแปลง”''<ref>[https://www.chulabook.com/en/product-details/108917-%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%87 คิดต่างสร้างการเปลี่ยนแปลงคิดต่างสร้างการเปลี่ยนแปลง ผู้เขียน: สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์]</ref> และ ''"A story of the impossible สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง"'' <ref>[https://opac.lib.kmitl.ac.th/catalog/BibItem.aspx?BibID=b00274950ง A story of the impossible Authorสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ผู้เขียน: สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์]</ref>
 
''"A story of the impossible สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง"'' <ref>[https://opac.lib.kmitl.ac.th/catalog/BibItem.aspx?BibID=b00274950ง Author : สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์]</ref>
== รางวัลและเกียรติคุณ ==
* “นักบริหารดีเด่นแห่งปี ประจำปี 2555 ” สาขาบริหารและพัฒนาการศึกษา <ref>{{Cite news|last=|date=2012-09-28|title=รศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ รับรางวัล “นักบริหารดีเด่นแห่งปี 2555|url=https://www.press.in.th/%E0%B8%A3%E0%B8%A8-%E0%B8%94%E0%B8%A3-%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%A3%E0%B9%8C-%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%AA%E0%B8%A7/|url-status=live|website=PRESS RELEASE |archive-url= https://web.archive.org/web/20221123082534/https://www.press.in.th/%E0%B8%A3%E0%B8%A8-%E0%B8%94%E0%B8%A3-%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%A3%E0%B9%8C-%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%AA%E0%B8%A7/|archive-date=2022-11-23 |access-date=2022-11-23|language=th}}</ref>
เส้น 112 ⟶ 67:
* Distinguished Honorary Award สถาบันเทคโนโลยีแห่งชาติ โทยามะ [[ประเทศญี่ปุ่น]]<ref>{{Cite news|author=kejjy|date=2015-12-17|title=NIT Toyama College – KMITL President’s Distinguished Honorary Award|url=https://oia.kmitl.ac.th/blog/nit-toyama-college-%E2%80%93-kmitl-president%E2%80%99s-distinguished-honorary-award|url-status=live|website=Office of International Affairs :KMITL|archive-url=https://web.archive.org/web/20221123085054/https://oia.kmitl.ac.th/blog/nit-toyama-college-%E2%80%93-kmitl-president%E2%80%99s-distinguished-honorary-award|archive-date=2022-11-23 |access-date=2022-11-23|language=en}}</ref>
* Honorary Doctorate Awarded จาก [[มหาวิทยาลัยโตไก]][[ประเทศญี่ปุ่น]] ในปี 2560<ref>{{Cite news|author=superdia|date=2017-11-01|title=Honorary Doctorate awarded to Prof. Dr. Suchatvee Suwansawat|url=https://oia.kmitl.ac.th/blog/honorary-doctorate-awarded-prof-dr-suchatvee-suwansawat|url-status=live|website=Office of International Affairs :KMITL|archive-url=https://web.archive.org/web/20221123084232/https://oia.kmitl.ac.th/blog/honorary-doctorate-awarded-prof-dr-suchatvee-suwansawat|archive-date=2022-11-23 |access-date=2022-11-23|language=en}}</ref>
* รางวัล “อินทรจักร” สาขาบุคคลที่น่ายกย่องแห่งปี 2561 จากสถาบันพัฒนาผู้ประกอบการวัยรุ่นไทยและวัยทำงาน ในฐานะบุคคลตัวอย่าง ที่มีความโดดเด่นในการงานอันเป็นประโยชน์แก่สังคม ประเทศชาติ และเป็นแรงบันดาลใจแก่สาธารณชน <ref>{{Cite news|author=|date=2018-04-06|title=ศ.ดร.สุชัชวีร์ อธิการบดี สจล. ได้รับรางวัล บุคคลที่น่ายกย่องแห่งปี 2561 |url=https://kmitl.io/th/detail/2018-04-10-16-17-25|url-status=live|website=[[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ]]|archive-url=|archive-date= |access-date=2022-11-23|language=th}}</ref>
* Fukuoka Institute of Technology Chairman’s Medal Ceremony 2565 <ref>{{Cite news|author=|date=2014-12-30|title=ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ นายก วสท. รับรางวัลนักเรียนทุนรัฐบาลไทยดีเด่น ประจำปี 2557|url=https://www.thairath.co.th/news/politic/2348375|url-status=live|website=[[ไทยรัฐ ]]|archive-url= https://web.archive.org/web/20221123081719/https://www.thairath.co.th/news/politic/2348375|archive-date=2022-11-23 |access-date=2022-11-23|language=th}}</ref>
* ศิษย์เก่าเกียรติยศ 62 ปี [[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]] (The World Master of Innovation) ปี 2565<ref>{{Cite news|author=|date=2014-12-30|title="สุชัชวีร์" ติด1ใน12 ผู้รับรางวัลศิษย์เก่าเกียรติยศ สจล.ครบรอบ62ปี |url=https://www.komchadluek.net/news/education/527504|url-status=live|website=[[คมชัดลึก]]|archive-url= https://web.archive.org/web/20221123082314/https://www.komchadluek.net/news/education/527504|archive-date=2022-11-23 |access-date=2022-11-23|language=th}}</ref>
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
{{ป.ม.|2564}}<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [https://ratchakitcha2.soc.go.th/pdfdownload/?id=139B001S0000000000100 ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๖๔], เล่ม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๑ ข หน้า ๖๖, ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕</ref>