ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โคลชิซีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8.6
มีความรู้มากกว่า
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 23:
'''โคลชิซีน''' (Colchicine) เป็นสารกลุ่ม[[อัลคาลอยด์]] พบมากใน[[ดองดึง]] ในทางการแพทย์นำมาใช้รักษา[[โรคเกาต์]] [[ไขข้ออักเสบ]] ส่วนในทางด้าน[[พันธุศาสตร์]]และ[[การปรับปรุงพันธุ์พืช]] นำมาใช้ในการเพิ่มชุด[[โครโมโซม]]ของพืชเพราะมีฤทธิ์ยับยั้งการสร้าง[[เส้นใยสปินเดิล]]ระหว่าง[[การแบ่งนิวเคลียส]] ทำให้โครโมโซมไม่แยกตัว<ref>{{Cite journal|author1=บุญยืน กิจวิจารณ์ |author2=จารุวรรณ นกไม้ |author3=หนูเดือน เมืองแสน |date=April–June 2008 |title=ผลของไทโรซีนและสารเร่งการเจริญเติบโตต่อการเจริญและพัฒนาของเนื้อเยื่อดองดึงในสภาพปลอดเชื้อ |url=https://li01.tci-thaijo.org/index.php/agkasetkaj/article/view/250240/171102 |journal=แก่นเกษตร |volume=36 |issue=2 |pages=144–152 |df=dmy-all |issn=0125-0485}}</ref>
 
ไม่มีข้อมูล ขอโทษทีใช้สมองก่อนค้นหา
==การสังเคราะห์==
การสังเคราะห์โคลชิซีนเกี่ยวข้องกับกรดอะมิโนฟีนิลอะลานีนและไทโรซีน การให้ tyrosine-2-C<sup>14</sup> ที่ติดฉลากด้วยสารกัมมันตภาพรังสี แก่ ''[[Colchicum autumnale]]'' จะพบสารกัมมันตภาพรังสีในโครงสร้างที่เป็นวงของโคลชิซีน การให้ฟีนิลอะลานีนที่ติดฉลากด้วยสารกัมมันตภาพรังสีแก่ ''[[Colchicum byzantinum]]'' จะพบสารกัมมันตภาพรังสีในโคลชิซีนเช่นกัน<ref>{{Cite journal|last=Leete |first=E. |title=The biosynthesis of the alkaloids of ''Colchicum''. III. The incorporation of phenylalaline-2-C<sup>14</sup> into colchicine and demecolcine|journal=Journal of the American Chemical Society |date=November 1963 |volume=85 |issue=22 |pages=3666–3669 |url=https://pubs.acs.org/doi/pdf/10.1021/ja00905a030 |url-access=subscription |doi=10.1021/ja00905a030}}</ref> อย่างไรก็ตาม วง[[โทรโปโลน]]ของโคลชิซีนมาจากการแผ่ขยายของวงไทโรซีน
การศึกษาทางด้านกัมมันตภาพรังสีต่อมาในต้น ''Colchicum autumnale'' แสดงให้เห็นว่า โคลชิซีนสร้างมาจาก ''(S)''-Autumnalineวิถีการสังเคราะห์เกิดขึ้นด้วยปฏิกิริยา para-para phenolic coupling reaction ที่มีเมตาบอไลท์เป็น isoandrocymbine ซึ่งจะเปลี่ยนต่อไปด้วย ''O''-methylation ได้เป็น'''''S-Adenosylmethionine (SAM)''''' ขั้นตอนออกซิเดชันสองขั้นตอนตามมาด้วยการแยกวง cyclopropane ทำให้ได้วงโทรโปโลน จากนั้นเกิด oxidative demethylation ทำให้ได้ deacetylcolchicine โมเลกุลของ colchicine เกิดขึ้นหลังจากการเติม acetyl-Coenzyme A ได้เป็น deacetylcolchicine<ref>{{Cite book|first=P.M. |last=Dewick |date=9 March 2009 |title=Medicinal Natural Products: A biosynthetic Approach |publisher=Wiley |pages=360–362 |isbn=978-0470741672}}</ref><ref>Maier, U. H.; Meinhart, H. Z. (20 ตุลาคม 1997). Colchicine is formed by para-para phenol coupling from autumnaline. ''Tetrahedron Letters.'' '''38''' (42): 7357–7360. {{Doi|10.1016/S0040-4039(97)10011-9}}.</ref>
 
:[[ภาพ:colchicinebiogenesis.svg|600px|center|alt=A]]
==การใช้งานทางเภสัชวิทยา==
===กลไกการออกฤทธิ์===