ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{น่า เ ย็ ด
{{กล่องข้อมูล กฎหมาย
| ชื่อ = {{small|รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย<br>พุทธศักราช 2560}}
| ภาพ = รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐.pdf
| ขนาดภาพ =
| บรรยายภาพ = หน้าแรกของรัฐธรรมนูญ
| ผู้ตรา = [[รัฐบาลไทย]]
| ผู้ลงนาม = [[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
| ผู้ลงนามรับรอง = [[ประยุทธ์ จันทร์โอชา|พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา]]
| ชื่อร่าง = ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
| ผู้ยกร่าง = คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ
| วันลงนาม = 6 เมษายน 2560
| วันลงนามรับรอง = 6 เมษายน 2560
| วันประกาศ = 6 เมษายน 2560
| วันเริ่มใช้ = 6 เมษายน 2560
| ท้องที่ใช้ = {{flag|ประเทศไทย}}
| การแก้ไขเพิ่มเติม = [[:s:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2564|รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2564]]
| กฎหมายที่เกี่ยวข้อง = [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557]] และที่แก้ไขเพิ่มเติม
}}
 
'''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560''' เป็น[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย]] ฉบับที่ 20 มีที่มาจากการตั้งคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2558 เพื่อจัดทำร่างฯ ฉบับใหม่ ประกอบด้วยสมาชิก 21 คน มี[[มีชัย ฤชุพันธุ์]] เป็นประธาน<ref name="Laws15"/> เมื่อร่างเสร็จแล้ว มี[[การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2559|การลงประชามติ]]ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2559 ซึ่งผู้มาใช้สิทธิร้อยละ 61.35 เห็นชอบ [[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงลงพระปรมาภิไธยในร่างรัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2560 หลังมีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญฉบับผ่านประชามติตามพระบรมราชวินิจฉัย
 
รัฐธรรมนูญฉบับนี้ถูกวิจารณ์ว่าเป็นการสืบทอดอำนาจของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) มีสมาชิกวุฒิสภาจำนวน 250 คนที่มาจากการแต่งตั้งหรือคัดเลือกโดย คสช. ทั้งหมด การรณรงค์ให้ความรู้และให้ลงมติคัดค้านร่างรัฐธรรมนูญถูกปิดกั้น และคำถามพ่วงในประชามติมีความซับซ้อนเข้าใจยาก ซึ่งมีผลให้สมาชิกวุฒิสภามีอำนาจร่วมลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีได้เช่นเดียวกับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ส่วนเนื้อหาอื่น เช่น การแก้ไขให้ "สิทธิ" หลายประการของประชาชนกลายเป็น "หน้าที่" ของรัฐ ตลอดจนบทเฉพาะกาลที่รับรองบรรดาประกาศและคำสั่งของ คสช.
 
รัฐธรรมนูญฉบับนี้ถูกวิจารณ์และมีการเรียกร้องให้แก้ไขเพิ่มเติมอยู่หลายครั้ง แต่จนถึงปัจจุบันยังมีการแก้ไขเพิ่มเติมเพียงครั้งเดียวเพื่อเปลี่ยนระบบการเลือกตั้ง ส่วนประเด็นยกเลิกวุฒิสภาจากการแต่งตั้งซึ่งเป็นข้อเรียกร้องสำคัญข้อหนึ่งของ[[การประท้วงในประเทศไทย พ.ศ. 2563–2564]] ไม่ผ่านการพิจารณาของรัฐสภา
 
== ประวัติ ==