ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เส้นเวลาของบิกแบง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Universe expansion-en.svg|
[[ไฟล์:Universe expansion-en.svg|thumb|240px|ตาม'''ทฤษฎีบิกแบง''' [[จักรวาล]]มีจุดกำเนิดมาจากสภาพที่มีความหนาแน่นสูงและร้อน และจักรวาลมีการขยายตัวอยู่ตลอดเวลา]]
เมื่อพิจารณาตรรกะจากการขยายตัวของlarge-scale structure of space-time'สามารถประมาณภาวะเอกฐานได้ใกล้สักเพียงไหน (ซึ่งไม่มีทางประมาณไปได้มากเกินกว่า[[ยุคของพลังค์]]) ภาวะเริ่มแรกที่มีความร้อนและความหนาแน่นสูงอย่างยิ่งนี้เองที่เรียกว่า "บิกแบง"<ref>ยังไม่เป็นเอกฉันท์ว่าภาวะบิกแบงนี้กินเวลานานเท่าไร บางคนว่าเฉพาะภาวะเอกฐานเริ่มแรกเท่านั้น แต่บางคนก็เห็นว่าเป็นช่วงไม่กี่นาทีแรกที่ฮีเลียมเริ่มก่อตัวขึ้น</ref> และถือกันว่าเป็น "จุดกำเนิด" ของเอกภพของเราจากผลการตรวจวัดการขยายตัวของ[[ซูเปอร์โนวาประเภท Ia]] การตรวจวัดความแปรเปลี่ยนของอุณหภูมิในไมโครเวฟพื้นหลัง และการตรวจวัดลำดับวิวัฒนาการของ[[ดาราจักร]] ของสถาบันวิจัย
คำว่า '''เส้นเวลาของบิกแบง''' คือประวัติของการเกิดจักรวาลที่สอดคล้องกับทฤษฏีบิกแบง โดยใช้ตัวแปรทางเวลาของจักรวาลในพิกัดเคลื่อนที่
เมื่อพิจารณาตรรกะจากการขยายตัวของเอกภพโดยใช้[[ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป]] หากเวลาย้อนหลังไปจะทำให้[[ความหนาแน่น]]และ[[อุณหภูมิ]]มีค่าสูงขึ้นอย่างไม่จำกัดขณะที่เวลาในอดีตจำกัดอยู่ค่าหนึ่ง<ref>S. W. Hawking and G. F. R. Ellis (1973). ''The large-scale structure of space-time''. เคมบริดจ์: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์. ISBN 0-521-20016-4.</ref> [[ภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วง|ภาวะเอกฐาน]]เช่นนี้เป็นไปไม่ได้เพราะขัดแย้งกับทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป เป็นที่ถกเถียงกันอยู่มากกว่าเราสามารถประมาณภาวะเอกฐานได้ใกล้สักเพียงไหน (ซึ่งไม่มีทางประมาณไปได้มากเกินกว่า[[ยุคของพลังค์]]) ภาวะเริ่มแรกที่มีความร้อนและความหนาแน่นสูงอย่างยิ่งนี้เองที่เรียกว่า "บิกแบง"<ref>ยังไม่เป็นเอกฉันท์ว่าภาวะบิกแบงนี้กินเวลานานเท่าไร บางคนว่าเฉพาะภาวะเอกฐานเริ่มแรกเท่านั้น แต่บางคนก็เห็นว่าเป็นช่วงไม่กี่นาทีแรกที่ฮีเลียมเริ่มก่อตัวขึ้น</ref> และถือกันว่าเป็น "จุดกำเนิด" ของเอกภพของเราจากผลการตรวจวัดการขยายตัวของ[[ซูเปอร์โนวาประเภท Ia]] การตรวจวัดความแปรเปลี่ยนของอุณหภูมิในไมโครเวฟพื้นหลัง และการตรวจวัดลำดับวิวัฒนาการของ[[ดาราจักร]] เชื่อว่าเอกภพมีอายุประมาณ 13.73 ± 0.12 พันล้านปี<ref name="bigbang22">G. Hinshaw, J. L. Weiland, R. S. Hill, N. Odegard, D. Larson, C. L. Bennett, J. Dunkley, B. Gold, M. R. Greason, N. Jarosik, E. Komatsu, M. R. Nolta, L. Page, D. N. Spergel, E. Wollack, M. Halpern, A. Kogut, M. Limon, S. S. Meyer, G. S. Tucker, E. L. Wright (2008). [http://lambda.gsfc.nasa.gov/product/map/dr3/pub_papers/fiveyear/basic_results/wmap5basic.pdf "Five-Year Wilkinson Microwave Anisotropy Probe (WMAP) Observations: Data Processing, Sky Maps, and Basic Results"]. ''Astrophys. J''.</ref>จและวิวัฒนาการต่อมาเรื่อย ๆ ซึ่งเราสามารถแบ่งออกเป็น 4 ระยะด้วยกัน โดยจักรวาลในระยะแรกเริ่ม, ซึ่งเป็นช่วงที่เรามีความรู้ความเข้าใจน้อยมาก เนื่องจากในช่วงเสี้ยววินาทีแรกของการระเบิดของจักรวาล จักรวาลจะร้อนมากอันเต็มไปด้วยอนุภาค ที่มีพลังงานสูง สูงกว่าอนุภาคที่ถูกเร่งด้วย[[เครื่องเร่งอนุภาค]] ส่วนใหญ่ที่มนุษย์เคยสร้างมา นอกจากเครื่องเร่งของสถาบันวิจัย
 
ระยะต่อมา, จักรวาลระยะแรก, กระบวนการวิวัฒนาการของจักรวาลสอดคล้องกับความรู้ทางอนุภาค[[ฟิสิกส์พลังงานสูง]] เมื่อมี [[โปรตอน]], [[อิเล็กตรอน]] และ [[นิวตรอน]] ตัวแรกเกิดขึ้นแล้ว ต่อจากนั้นจะรวมตัวกันเป็น นิวเคลียส อะตอม และอะตอมแรกที่เกิดขึ้นคือ อะตอมของไฮโดรเจน อีกทั้งยังมีการแผ่[[รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล]]