ผู้ใช้:Thanakorn rakkuson/กระบะทราย


ชื่อ : นายธนากร รักกุศล
ชื่อเล่น : มอส
ที่อยู่ปัจจุบัน : 588/2 ม.3 ถ.ราชสีมา-โชคชัย ต.หนองบัวศาลา อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000
การศึกษา :ปัจจุบันกำลังศึกษาอยู่ที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (นครราชสีมา) สาขาวิชาระบบสารสนเทศ ชั้นปีที่ 3
ตำแหน่งงานด้านไอทีที่สนใจ  : นักวิเคราะห์ระบบ (Systems Analysis : SA) และ ผู้พัฒนาโปรแกรม(developer) ชอบที่จะพัฒนาโปรแกรมและวิเคราะห์ออกแบบระบบให้กับองค์กร
ข้อคิดเตือนใจ : ชีวิตยังมีพรุ่งนี้เสมอ

--Thanakorn rakkuson (พูดคุย) 00:04, 4 มีนาคม 2558 (ICT)


F1 ถึง F12 รู้ไหมว่ามันทำอะไรได้บ้าง?

แก้


มักจะใช้เป็นคีย์ช่วยเกือบทุกโปรแกรมจะเปิดหน้าจอ
ป้อนการตั้งค่า CMOS
Windows Key + F1 จะเปิดตัวช่วยของ Microsoft Windows
เปิดบานหน้าต่างงาน
ใน Windows จะใช้ในการเปลี่ยนชื่อไอคอนหรือไฟล์
Alt + Ctrl + F2 เปิดเอกสารใหม่ในโปรแกรม Microsoft Word .
Ctrl + F2 จะแสดงหน้าต่างตัวอย่างก่อนพิมพ์ใน Microsoft Word
เข้าสู่การป้อนการตั้งค่า CMOS หรือ Bios
เปิดคุณลักษณะการค้นหาในหลายๆโปรแกรมรวมถึง Microsoft Windows
ใน MS - DOS หรือ Windows ของบรรทัดคำสั่ง F3 จะทำซ้ำคำสั่งสุดท้าย
Shift + F3 จะมีการเปลี่ยนแปลงข้อความใน Microsoft Word
เปิดพบหน้าต่าง
ทำซ้ำการกระทำล่าสุด ( Word 2000 ขึ้นไป )
Alt + F4 จะปิดโปรแกรมที่ใช้งานอยู่ใน Microsoft Windows
Ctrl + F4 จะปิดหน้าต่างที่เปิดอยู่ในหน้าต่างที่ใช้งานในปัจจุบันใน Microsoft Windows
ในทุกเบราว์เซอร์อินเทอร์เน็ต F5 จะรีเฟรชหรือโหลดหน้าเว็บหรือหน้าต่างเอกสาร
เปิดหน้าค้นหา แทนที่ และไปที่หน้าต่างใน Microsoft Word
เริ่มสไลด์โชว์ใน PowerPoint
ย้ายเคอร์เซอร์ไปที่ Address bar ใน Internet Explorerและ Mozilla Firefox .
Ctrl + Shift + F6 เปิดไปยังเอกสารอื่น ๆ ใน Microsoft Word
ปกติจะใช้เพื่อตรวจสอบการสะกดและไวยากรณ์ตรวจสอบเอกสารในโปรแกรม Microsoft เช่น Microsoft Word, Outlook, ฯลฯ
Shift + F7 ทำงานตรวจสอบบนคำที่ไฮไลต์
เปิดการใช้งานเลือนหน้าต่างด้วยปุ่มลูกศรบนคีย์บอร์ดใน Mozilla Firefox
แป้นฟังก์ชันที่ใช้ในการเข้าสู่เมนูเริ่มต้น Windows, นิยมใช้ในการเข้าถึง Windows แบบ Safe Mode .
เปิดแถบเครื่องมือวัดใน Quark 5.0
ใน Microsoft Windows เปิดใช้งานแถบเมนูของโปรแกรมที่เปิดอยู่
Shift + F10 เป็นเช่นเดียวกับการคลิกขวาบนไอคอนที่ไฮไลต์ไฟล์หรือการเชื่อมโยงอินเทอร์เน็ต
การเข้าถึงการกู้คืนพาร์ทิชันที่ซ่อนอยู่ ของ HP และ Sony คอมพิวเตอร์
ป้อนการตั้งค่า CMOS .
โหมดเต็มหน้าจอในเบราว์เซอร์อินเทอร์เน็ต
CTRL + F11 การเข้าถึง การกู้คืนพาร์ทิชันที่ซ่อนอยู่ในคอมพิวเตอร์ของ Dell
การเข้าถึงการกู้คืนพาร์ทิชันที่ซ่อนอยู่บน eMachines, Gateway, และคอมพิวเตอร์ Lenovo
เปิดหน้าที่ทำการบันทึกใน Microsoft Word
SHIFT + F12 บันทึกเอกสาร Microsoft Word
Ctrl + Shift + F12 พิมพ์เอกสารใน Microsoft Word



คีย์ลัดที่มีประโยชน์บน Windows

แก้


กดปุ่ม SHIFT

แก้
เมื่อใส่แผ่น CD , DVD เพื่อป้องกันไม่ให้ไดรฟ์ซีดี เรียกใช้แผ่นซีดีโดยอัตโนมัติ หรือหยุดการ Autorun
กด Shift + Delete เพื่อลบไฟล์ หรือโฟลเดอร์ ที่เลือกไว้อย่างถาวร
กด F2 เพื่อเปลี่ยนชื่อไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่เลือกไว้

กด CTRL + A

แก้
เพื่อเลือกทั้งหมด 

กด F3

แก้
ค้นหาไฟล์หรือโฟลเดอร์ในคอมพิวเตอร์

กด ALT + ENTER

แก้
ร่วมกัน เพื่อดูคุณสมบัติของรายการที่เลือก

กด ALT + F4

แก้
เพื่อปิดไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ใช้งานอยู่ 

กด CTRL + F4

แก้
เพื่อปิดไฟล์ โฟลเดอร์หรือ โปรแกรม ทั้งหมดที่ใช้งานอยู่

กด ALT + TAB

แก้
เพื่อสลับหน้าต่างระหว่าง แฟ้ม โฟลเดอร์ หรือ  โปรแกรม ที่เปิดอยู่

กด SHIFT + F10

แก้
เพื่อแสดงเมนูทางลัดสำหรับโปรแกรมที่เลือก 

กด CTRL + ESC

แก้
เพื่อเปิด Start menu

กด F10

แก้
เปิดแถบเมนูในโปรแกรมที่ใช้งาน 

ลูกศรขวา

แก้
เปิดเมนูถัดไปทางขวาหรือเปิดเมนูย่อย 

ลูกศรซ้าย

แก้
เปิดเมนูถัดไปทางซ้ายหรือปิดเมนูย่อย 

กด F5

แก้
เพื่อรีเฟรชหน้าต่างที่ใช้งาน 

BACKSPACE

แก้
ถอยหลังเพื่อดูโฟลเดอร์หนึ่งระดับใน My Computer หรือ Windows Explorer 

กดปุ่ม ESC

แก้
เพื่อยกเลิกการใช้งานใด ๆ


วิธีการปรับปรุงประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์

แก้

ทำความสะอาด Registry ของคุณ

แก้
ข้อผิดพลาดและปัญหาภายในของรีจิสทรี เป็นส่วนสำคัญอย่างมากที่ทำให้เครื่องช้าสุด ๆ เดาได้เลยว่าพวกโปรแกรมสปายแวร์แอดแวร์และภัยคุกคามอื่น ๆมักจะกำหนดเป้าหมายที่รีจิสทรี ควรทำ  
ความสะอาดรีจิสทรีบ่อย ๆ แต่ไม่ควรที่จะทำได้ด้วยตนเอง เพราะมีโอกาสสูงที่จะทกให้สร้างความเสียหายต่อระบบปฏิบัติการของเครื่องพีซี สิ่งที่แนะนำคือหาพวกโปรแกรม Windows registry cleanup
ให้มันจัดการทำความสะอาดให้เราโปรแกรมแนวนี้ก็มีเยอะมากและก็ทำงานแบบเดียวกัน ถ้ายังไงบทความต่อ ๆ ไปจะหามาฝากกัน หรือใครที่ลงโปรแกรม USB Security Disk มันจะมีออฟชั่้นนี้อยู๋แล้ว

ลบไฟล์ที่ไม่จำเป็น

แก้
ทุกครั้งที่คุณเข้าสู่ระบบอินเตอร์เน็ตหรือใช้คอมพิวเตอร์ของคุณ ไฟล์ชั่วคราวจะถูกสร้างขึ้น พวกเขามักจะใช้เพียงครั้งเดียว แต่อย่างไรก็ตามไฟล์พวกนี้ไม่ได้ลบออกไปเวลาเลิกใช้งาน แต่จะสะสมไป 
เรื่อย ๆ เมื่อเวลาผ่านไปนาน ๆ ก็จะมีผลกระทบต่อประสิทธิภาพการทำงาน ในขณะที่การจะทำการลบไฟล์เหล่านี้ง่ายมาก ซึ่งควรที่จะทำเช่นนั้นประมาณหนึ่งครั้งต่อสัปดาห์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ของคุณ
ทำงานได้ดีขึ้น การลบไฟล์ขยะ พวกนี้ก็เคยนำการลงไว้แล้วเ่ช่นกันครับ ลองหาดูในเว็บเราได้เลย สำหรับคนที่ยังไม่รู้

เอาโปรแกรมที่ไม่จำเป็น

แก้
คุณอาจจะดาวน์โหลดและลองใช้โปรแกรมที่แตกต่างกันในแต่ละเดือน แต่จริง ๆ แล้วได้ใช้เป็นประจำหรือไม่ การถอนการติดตั้งโปรแกรมที่ไม่ได้ใช้และไม่จำเป็นออกจะทำให้จัดการระบบแฟ้มของ 
คอมพิวเตอร์ให้ดีขึ้นไม่กระจัดกระจาย ทำให้ลดเวลาในการหาข้อมูล เพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งจะดีขึ้นอย่างมาก มันทำได้ง่ายด้วย โดยใช้ Add / Remove Programs ของ
Control Panel การทำก็หาในเว็บได้เลยครับ

ลบ ไฟล์ขยะใน Recycle Bin

แก้
เมื่อ "ลบ" แฟ้มหรือโปรแกรมมันไม่ได้หายไปเล่ย แต่จะตั้งอยู่ใน Recycle Bin ซึ่งความรกของมันอาจทำให้ครื่องคอมพิวเตอร์ของสามารถเริ่มต้นการแสดงปัญหาที่น่ารำคาญได้มากมาย 
ดังนั้นควรทำให้เป็นนิสัยโดยการลบประมาณหนึ่งครั้งต่อสัปดาห์ มันดูง่าย ๆ แต่ที่สำคัญสามารถสร้างความแตกต่าง ได้มากมาย ซึ่งผมก็ทำทุกวัน

ดำเนินการจัดระเบียบดิสก์

แก้
Windows ไม่ได้ฉลาดมากนักในการจัดเก็บไฟล์ มันจะจัดเก็บไฟล์ลงบนช่องว่างที่มีอยู่ โดยอาจเว้นระยะห่างกันมากในแต่ละชิ้นส่วนของไฟล์ เมื่อเรียกไฟล์มาทำงาน ถ้าเป็นไฟล์ขนาดใหญ่คงใช้เวลานาน 
หน่อย กว่ามันจะเรียกมาได้ การทำ Disk Defragmentation เป็นทางออกเพื่อจัดเรียงไฟล์ให้เรียบร้อย ทำสัก สี่เดือนครั้งก็จะเห็นความแต่งต่าง ได้ชัดเจนมาก การบำรุงรักษาเล็ก ๆ แต่มันเป็นวิธีที่ดีที่สุด
ในการป้องกันเครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณ ซึ่งผมเองก็ทำอยู่ บางครั้ง บางคนถามว่าจะทำไปทำไม ไม่เห็นมีข้อแตกต่างอะไรเลย แต่คำตอบรออยู่อีก ห้าเดือนข้างหน้าตอนที่คนถามลงวินโดวส์ใหม่
แต่ของเรายังไวเท่าเดิม ลองไปศึกษาทำดูครับ



LAN TOPOLOGY

แก้

โทโปโลยีแบบบัส (Bus Topology)

แก้
โทโปโลยีแบบบัส บางทีก็เรียกว่า Linear bus เพราะมีการเชื่อมต่อแบบเส้นตรงซึ่งเป็นลักษณะการเชื่อมต่อที่ง่ายที่สุด และเป็นโทโปโลยีที่นิยมกันมากที่สุดใน
สมัยแรกๆ

ลักษณะการส่งข้อมูล
การส่งข้อมูลบนเครือข่ายที่มีโทโปโลยีแบบบัสนั้นข้อมูลจะถูกส่งไปบนสายสัญญาณในรูปแบบของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งสัญญาณนี้จะเดินทางไปถึง
คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อเข้ากับสื่อกลางบัสแต่ เฉพาะคอมพิวเตอร์เครื่องที่มีอยู่ตรงกับที่อยู่ของผู้รับที่อยู่ในข้อมูลเท่านั้น จึงจะนำข้อมูลนั้นไปทำ
การโพรเซสส์ต่อไป ส่วนเครื่องอื่นๆ ก็จะไม่สนใจข้อมูลนั้น เนื่องจากสายสัญญาณเป็นสื่อกลางที่ใช้ร่วมกัน ดังนั้น คอมพิวเตอร์แค่เครื่องเดียวเท่านั้นที่จะ
ส่งข้อมูลได้ในเวลาใดเวลาหนึ่ง

ข้อดี
1.ประหยัดค่าใช้จ่ายในการติดตั้ง
2.มีโครงสร้างง่ายและระบบก็มีความน่าเชื่อถือเพราะใช้สายส่งข้อมูลเพียงเส้นเดียว
3.ง่ายในการเพิ่มจุดบริการใหม่เข้าสู่ระบบ

ข้อเสีย
1.การตรวจหาข้อผิดพลาดของระบบทำได้ยาก
2.ในกรณีที่สายส่งข้อมูลเกิดเสียหายจะทำให้ระบบ ทั้งระบบไม่สามารถทำงานได้


ไฟล์:Star topology 1.png
Star topology 1

โทโปโลยีแบบดวงดาว (Star Topology)

แก้
โทโปโลยีแบบดวงดาว (Star Topology) นี้ คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะเชื่อมต่อด้วยสายสัญญาณเข้ากับอุปกรณ์รวมศูนย์ที่เรียกว่า “ ฮับ” โดยการเชื่อมต่อแบบ
ดวงดาวคือ เมื่อคอมพิวเตอร์เครื่องใด
จะส่งข้อมูลก็จะส่งไปที่ฮับก่อน แล้วฮับจะทำหน้าที่กระจายข้อมูลไปยังทุกเครื่องที่เชื่อมเข้ากับฮับ

ข้อดี
- ง่ายในการให้บริการ
- อุปกรณ์ 1 ตัวต่อสายส่ง 1 เส้น ทำให้การเสียหายของอุปกรณ์ในระบบไม่มีผลกระทบต่อการทำงานในจุดอื่นๆ
- ตรวจหาข้อผิดพลาดได้ง่าย

ข้อเสีย
-ต้องใช้สายส่งข้อมูลจำนวนมาก
-ถ้าจุดศูนย์กลางเกิดการเสียหาย จะทำให้ระบบทั้งระบบไม่สามารถจะทำงานได้


โทโปโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology)

แก้
โทโปโลยีแบบวงแหวนนี้จะใช้สายสัญญาณเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นห่วงหรือวงแหวน การเชื่อมต่อแบบนี้สัญญาณจะเดินทางเป็นวงกลมในทิศทางเดียว และจะ
วิ่งผ่านคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องซึ่งจะทำหน้าที่ทวนสัญญาณไปในตัวแล้วส่งผ่านไปเครื่องถัดไป ซึ่งถ้าคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งเครื่องใดหยุดทำงานก็จะทำให้ระบบ
เครือข่ายล่มเช่นกัน การส่งต่อโทเคน (Token Passing) วิธีที่จะส่งข้อมูลในโทโปโลยีแบบวงแหวนเรียกว่าการส่งต่อโทเคน โทเคนเป็นข้อมูลพิเศษที่ส่งผ่านใน
เครือข่ายแบบวงแหวน แต่ละเครือข่ายจะมีเพียงโทเคนเดียวเท่านั้น โทเคนนี้จะส่งต่อกัน ไปเรื่อยๆ สำหรับเครื่องที่ต้องการส่งข้อมูลเมื่อได้รับโทเคนแล้วก็จะมี
สิทธิ์ที่จะส่งข้อมูล การส่งข้อมูลก็ทำได้โดยใส่ที่อยู่ของเครื่องรับไว้ในข้อมูลแล้วส่งต่อๆ กันไป เมื่อข้อมูลมาถึงเครื่องปลายทางหรือเครื่องที่มีที่อยู่ตรงกับที่ระบุ
ในเฟรมข้อมูล เครื่องนั้นก็จะนำข้อมูลไปโพรเซสส์ และส่งเฟรมข้อมูลตอบรับกลับไปยังเครื่องส่งเพื่อบอกให้ทราบว่าได้รับข้อมูลเรียบร้อยแล้ว เมื่อเครื่องส่งได้รับ
การตอบรับแล้ว ก็จะส่งผ่านโทเคนต่อไปยังเครื่องถัดไป เพื่อเครื่องอื่นจะได้มีโอกาสส่งข้อมูลบ้าง

ข้อดี
-ใช้สายส่งข้อมูลน้อยจะใกล้เคียงกับแบบ Bus
-ประหยัดค่าใช้จ่ายในการติดตั้ง
-ง่ายในการเพิ่มจุดบริการใหม่เข้าสู่ระบบ

ข้อเสีย
-ถ้าจุดใดจุดหนึ่งเสียหายจะทำให้ระบบทั้งระบบไม่สามารถติดต่อกันได้
-ยากในการตรวจสอบข้อผิดพลาด


ไฟล์:ระบบ Mesh.png
ระบบ Mesh

โทโปโลยีแบบเมซ (Mesh Topology)

แก้
โทโปโลยีเมซคือ การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์แบบสมบูรณ์ กล่าวคือ คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเครือข่ายจะเชื่อมต่อถึงกันหมดโดยใช้สายสัญญาณทุกการเชื่อต่อ 
วิธีการนี้จะเป็นการสำรองเส้นทาง เดินทางข้อมูลได้เป็นอย่างดี เช่น ถ้าสายสัญญาณเส้นใดเส้นหนึ่งขาด ก็ยังมีเส้นทางอื่นที่สามารถส่งข้อมูลได้ นอกจากนี้ยัง
เป็นระบบที่มีความเชื่อถือได้สูง แต่ข้อเสียก็คือ เครือข่ายแบบนี้จะใช้ สัญญาณมาก ดังนั้น ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งระบบก็เพิ่มขึ้น ในการเชื่อมต่อจริงๆ นั้นการ
เชื่อมต่อแบบเมซนั้นมีการใช้งานน้อยมาก

ข้อดี
-การมีเส้นทางสำรองข้อมูล จึงได้มีการประยุกต์ใช้การเชื่อมต่อแบบเมซบางส่วน หรือการเชื่อมต่อแบบเมซที่ไม่สมบูรณ์ กล่าว คือ จะเชื่อมต่อเฉพาะสิ่งที่จำ
เป็นหรือสำคัญเท่านั้น

ข้อเสีย
-การเชื่อมต่อหลายจุด

WAN TECHNOLOGY

แก้

เครือข่ายเซอร์กิตสวิตช์ circuit switching

แก้
ลักษณะที่สำคัญ คือก่อนจะเริ่มส่งข้อมูลจะต้องกำหนดเส้นทางการส่งข้อมูลก่อน โดยต้นทางจะมีการร้องขอ (Request) ว่าจะส่งข้อมูลให้ และปลายทางจะต้องตอบรับ (Acknowledge) ว่าพร้อม
จะรับข้อมูลนั้น ดังนั้นจึงสูญเสียเวลาช่วงหนึ่งสำหรับการติดต่อนี้ ก่อนเริ่มส่งข้อมูลกันจริงๆ ตัวอย่างของเครือข่ายเซอร์กิตสวิตช์ที่เห็นได้ชัดเจนที่สุดในปัจจุบันคือ เครือข่ายโทรศัพท์สาธารณะ

ข้อเสียของการส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายเซอร์กิตสวิตช์คือ เนื่องจากเทอร์มินัลอื่นไม่สามารถเข้ามาร่วมใช้สายเดียวกันในเวลาเดียวกันได้ และเวลาส่วนหนึ่งจะสูญเสียไปกับการร้องขอและการตอบรับ
การส่งข้อมูล ดังนั้นจึงเหมาะสำหรับการส่งไฟล์ข้อมูลที่ต่อเนื่อง และใช้งานตลอดเวลา เช่น ระบบ ATM ระบบการเงิน ตลาดหลักทรัพย์ บริการดาต้าเนต

เครือข่ายแมสเสดสวิตช์ Message switching

แก้
การส่งข้อมูลในเครือข่ายแมสเสดสวิตช์จะเหมาะสำหรับการส่งข้อมูลแบบ ดิจิตอล ซื่งผู้ส่งจะส่งข้อมูลไปทีละบล็อกข้อมูลซื่งเรียกว่า แมสเสด (Message) ตัวอย่างของแมสเสดได้แก่ โทรเลข 
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Email) หรือไฟล์ข้อมูลคอมพิวเตอร์ บางครั้งเราเรียกเครือข่ายแมสเสดสวิตช์นี้ว่า " เครือข่าย store - and - forward "

เครือข่ายแพ็กเกจสวิตช์ Packet switching

แก้
การส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายแพ็กเกจสวิตช์ ขนาดของบล็อกของข้อมูลจะถูกจำกัดขนาด จึงจำเป็นต้องแบ่งบล็อกข้อมูลออกเป็นแพ็กเกจ (Packet) เพื่อทำให้มีขนาดเล็กลงในการส่งข้อมูลนั้น
ข้อมูลจะถูกส่งออกไปทีละแพ็กเกจเรียงลำดับตามกันโดยแต่ละสถานีจะเป็น store - and - forward หากมีความผิดพลาดเกิดขึ้นในแพ็กเกจใดสถานีสวิตช์ชิ่งนั้นก็จะทำการ้องขอให้สถานีก่อน
หน้านั้นส่งเฉพาะแพ็กเกจที่ผิดพลาดนั้นมาใหม่ ลักษณะอย่างหนึ่งที่สำคัญมากสำหรับเครือข่ายแพ็กเกจสวิตช์คือการเลือกการจัดวงจร (เส้นทาง) ของข้อมูลเป็นแบบ วงจรเสมือน (Virtual Circuit)
และแบบ วงจรดาต้าแกรม (Datagram Circuit)

ข้อดีของการสื่อสารข้อมูลแบบผ่านเครือข่ายแพ็กเกจสวิตช์ ได้แก่
1.ก่อนเริ่มต้นการส่งข้อมูล วงจรไม่จำเป็นต้องมีการยืนยันการตอบรับจากคู่สายก่อน อย่างเช่น เครือข่ายเซอร์กิตสวิตช์
2.ข้อมูลจะถูกส่ง เป็นแพ็กเกจขนาดไม่ใหญ่นัก ถ้ามีความผิดพลาดเกิดขึ้นทำให้ไม่เสียเวลามากนั้นในการส่งให้ใหม่
3.สามารถตรวจสอบความผิดพลาดที่เกิดขี้นได้ง่าย
4.การกำหนดวงจรหรือเส้นทางก็ไม่จำเป็นต้องตายตัว จึงมีความยืดหยุ่นกว่าเครือข่ายแบบเซอร์กิตสวิตช์และแบบแมสเสดสวิตช์



OSI model + TCP/IP model

แก้
OSI TCP/IP Protocols
7 Application Process/Application FTP,Telnet,HTTP,SMTP,SNMP,DNS,etc
6 Presentation Process/Application FTP,Telnet,HTTP,SMTP,SNMP,DNS,etc
5 Session Process/Application Host-to-Host TCP UDP
4 Transport Host-to-Host TCP UDP
3 Network Internet ICMP,IGMP,Ip
2 Data Link Network Access Not Specified
1 Physical Network Access Not Specified

อ้างอิงข้อมูลทั้งหมด

แก้
http://www.superict.com/component/viewrecord.php?id=674
http://www.superict.com/component/viewrecord.php?id=551&section_id=1&catagory_id=1
http://www.superict.com/component/viewrecord.php?id=573&section_id=1&catagory_id=1
http://thongsek.blogspot.com/2009/06/busstraringmash-5.html
http://cptd.chandra.ac.th/selfstud/datacom/sws.html