ผู้ใช้:Teepakorn7814/กระบะทราย

ชื่อ - สกุล : นายทีปกร ศรีจันทร์ทิพย์
ชื่อเล่น : ไวทย์
รหัสประจำตัว : 551531022036-5

ข้อมูลส่วนตัว

แก้


ที่อยู่ปัจจุบัน

แก้
บ้านเลขที่ 168/19 ซอยสุรนารายณ์ 11/4/3 ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครราชสีมา นครราชสีมา 3000

ปัจจุบันศึกษาที่

แก้
กำลังศึกษาที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์ ชั้นปีที่ 3

ตำแหน่งงานที่สนใจ

แก้
เกมเมอร์ เพราะ สนใจในการศึกษาค้นคว้า เรื่องเกมส์ 

บทความด้านไอที

แก้

เรื่อง อันตรายจากการใช้ Copy+Paste

แก้

บางท่านที่ใช้งานอินเตอร์เน็ตผ่านเว็บบราวเซอร์ของ IE อาจไม่รุ้ถึงอันตรายจากการใช้ Copy+Paste ดังนั้นเรามาระวังไว้ไม่เสียหลายนะครับ ท่านทั้งหลายส่วนมากคงเคยชิดกับการใช้คีย์ลัดบนแป้นคีย์บอร์ดของเราเป็นส่วนหนึ่งที่ ช่วยอำนวยความสะดวกให้กับการทำงานต่างๆของเราได้มาก แต่ในบางกรณี ความสะดวกสบายเหล่านี้กลับต้องแลกมาด้วยความไม่ปลอดภัยมาด้วยนะครับ ขอแนะนำว่า อย่าใช้การ Copy & Paste กับข้อมูลที่มีความสำคัญ เช่น หมายเลขบัตรเครดิต รหัสผ่านต่าง ๆ etc. เพราะการใช้ Ctrl+C หรือ Copy จะมีการเก็บค่าไว้ใน Clipboard ของ Windows ซึ่งสามารถถูกอ่านผ่าน Web site ได้ด้วย Javascript + ASP ซึ่งโค๊ดพวกนี้มีแจกกันให้เกลือนพูดง่าย ๆ คือ ไม่ต้องมีความรู้ด้านโปรแกรม ก็เอาข้อมูลเราไปได้แล้วแค่รู้ขั้นตอนการใช้งานก็พอ ซึ่งนี่ก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่โดนแฮ็คข้อมูลต่าง กัน ไปนะครับ ลอง copy text อะไรก็ได้บนเครื่องแล้วเปิด URL ต่อไปนี้ดู http://www.friendlycanadian.com/applications/clipboard.htm หากเว็บนี้แสดงข้อความบนคลิปบอร์ดที่เราก๊อปปี้ไว้ แสดงว่าคุณยังไม่ได้ป้องกันครับ มันเป็นสคริปทดสอบนะครับ
มาดุวิธีการป้องกันครับ

1. เปิด Internet Explorer ขึ้นมา, ไปยังเมนู Tools -> Internet Options -> Security

2. Click ที่ปุ่ม Custom Level

3. เปิดไปที่ Tab ที่ชื่อว่า security แล้วตั้งค่าโดยกดปุ่ม Custom Level. แล้วหาคำว่า Allow Paste Operations via Script จากนั้นเลือกที่ Disable เพื่อป้องกันการถูกล้วงข้อมูลจากคลิปบอร์ดของท่าน


หมายเหตุ โปรแกรมเปิดเว็บนั้ FireFox และ Opera , Google Chrome ไม่พบปัญหาดังกล่าวแต่ก็อาจโดนได้นะครับนะครับ แต่ IE โดนแน่ ๆ ป้องกันไว้ดีมาแก้ทีหลังนะครับ เจอข้อมูลดี ๆ เลยเอามาฝากกันครับ


มาทดสอบแอนตี้ไวรัสของเรากันว่ามันยังใช้ได้เป็นปกติหรือไม่

แก้

เป็นปกติอยู่ที่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ จะมีโปรแกรม Anti-Virus ติดตั้งประจำเครื่องอยู่ แต่ละเครื่องก็่จะมีโปรแกรม Anti-Virus ของตน แต่เราจะแน่ใจหรือไม่ว่า Anti-Virus ที่ใช้อยู่ทำงานอย่างเป็นปกติ หรือยังใช้ได้อยู่หรือไม่ วันนี้จะมาแนะนำ วิธีการทดสอบ Anti-Virus ที่ท่านทั้งหลายใช้อยู่ว่าจะตรวจจับไวรัสได้ดีหรือไม่ วิธีการง่ายๆ ดังนี้ วิธีการตรวจสอบ Anti virus ในเครื่องของคุณว่าดีแค่ไหน ?
1. เปิดโปรแกรม notpad ขี้นมาเพื่อพิมพ์โค๊ดตรวจสอบลงไป
2. Copy โค้ดด้านล่างไปใส่ใน Notepad ดังแสดงในรูป

X5O!P%@AP[4\PZX54(P^)7CC)7}$EICAR-STANDARD-ANTIVIRUS-TEST-FILE!$H+H*


3. Save เป็นชื่อ virus.com
4. แล้วลองรันดู (เปิดไฟล์ที่เราได้บันทึกไว้ขึ้นมา)
ถ้าเกิดว่า anti virus ตัวนั้นดีจริงก็จะมีการส่งสัญญานเตือนเราหรือลบทิ้งไปโดยอัตโนมัติแต่ถ้าตัวไหนที่ขนาด scan แล้วก็ยังไม่เจออันนี้ก็ต้องพิจารณาว่าควรจะหาแอนตี้ไวรัสตัวอื่น ๆ มาใช้แทนหรือทำหารซ่อมแซมให้มันกลับมาใช้ได้ดังเดิม

ไฟล์ที่เราสร้างนั้นก็คือ virus แต่ว่าไวรัสตัวนี้เป็น virus test ไม่มีอันตรายต่อระบบ computer ใดๆทั้งสิ้นสบายใจในจุดนี้ได้

หวังว่าคงมีประโยชน์นะครับ แต่อย่าเอาไปแกล้งเพื่อนละกัน


มาเปลี่ยนชื่อของ Recycle Bin กัน

แก้

คุณสามารถเปลี่ยนชื่อของ Recycle Bin ของระบบได้หากต้องการ มันเป็นเรื่องง่ายและน่าสนใจมากเหมือนกันนะสำหรับคนชอบปรับ แต่จะต้องมีการเปลี่ยนแปลงบางอย่างในรีจิสทรีของ Windows แนะนำว่าต้องมีความรู้บ้างพอสมควร ไม่งั้นเครื่องเราอาจจะเอ๋อเลยก็ได้ ขั้นตอนการทำดังนี้ ขั้นแรกให้ไปที่ Start แล้วจากนั้นเลือกไปที่ Run
พิมพ์ regedit.exe ในหน้าต่างที่ปรากฏขึ้นมาและกด Enter จากนั้นจะมี regedit Editor ขึ้นมา


ในหน้าต่างแก้ไข regedit เปิด HKEY_CLASSES_ROOT แล้วหา CLSID คีย์ดังต่อไปนี้


{645FF040-5081-101B-9F08-00AA002F954E}


แล้วไปที่ ShellFolder ซึ่งจะอยู่ในเมนูสุดท้่ายดังแสดงในรูป

นี่เพียงแค่เปลี่ยนค่าข้อมูล Attribute จาก "40 01 00 20" เป็น "70 01 00 20"


แถมด้วยคี้ย์ อื่น ๆ ครับ ทำหน้าที่ต่าง ด้านล่างเลย


0000 50 01 00 20 –> Rename
0000 60 01 00 20 –> Delete
0000 70 01 00 20 –> Rename & Delete
0000 41 01 00 20 –> Copy
0000 42 01 00 20 –> Cut
0000 43 01 00 20 –> Copy & Cut
0000 44 01 00 20 –> Paste
0000 45 01 00 20 –> Copy & Paste
0000 46 01 00 20 –> Cut & Paste
0000 47 01 00 20 –> Cut, Copy & Paste
หลังจากดำเนินการทุกขั้นตอนด้านบนให้ทำการรีสตาร์ทเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วคุณจะพบตัวเลือกในการเปลี่ยนชื่อถังรีไซเคิลหลังจากที่คลิกขวาที่ไอคอนถังรีไซเคิล ตอนนี้คุณสามารถเปลี่ยนชื่อใหม่ตามที่คุณต้องการ ได้แล้ว


LAN Technology

แก้

แบบบัส ( BUS Topology )

แก้

เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องบนสายสัญญาณหลักเส้นเดียว ที่เรียกว่า BUS ทีปลายทั้งสองด้านปิดด้วยอุปกรณ์ที่เรียกว่า Teminator ไม่มีคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งเป็นศูนย์กลางในการเชื่อมต่อ
คอมพิวเตอร์เครื่องใดหยุดทำงาน ก็ไม่มีผลกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ในเครือข่าย


ข้อดี ของการเชื่อแบบบัส คือ


- สามารถติดตั้งได้ง่าย เนื่องจากเป็นโครงสร้างเครือข่ายที่ไม่ซับซ้อน
- การเดินสายเพื่อต่อใช้งาน สามารถทำได้ง่าย
- ประหยัดค่าใช้จ่าย กล่าวคือ ใช้สายส่งข้อมูลน้อยกว่า เนื่องจากสามารถเชื่อมต่อกับสายหลักได้ทันที
- ง่ายต่อการเพิ่มสถานีใหม่เข้าไปในระบบ โดยสถานีนี้สามารถใช้สายส่งข้อมูลที่มีอยู่แล้วได้


ข้อเสียของการเชื่อแบบบัส คือ


- ถ้ามีสายเส้นใดเส้นหนึ่งหลุดไปจากสถานีใดสถานีหนึ่ง ก็จะทำให้ระบบเครือข่ายนี้หยุดการทำงานลงทันที
- ถ้าระบบเกิดข้อผิดพลาดจะหาข้อผิดพกลาดได้ยาก โดยเฉพาะถ้าเป็นระบบเครือข่ายขนาดใหญ่


แบบดาว ( Star topology )

แก้

เป็นการเชื่อมต่อสถานีหรือจุดต่าง ๆ ออกจากคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางหรือคอมพิวเตอร์แม่ข่ายที่เรียกว่า File Server แต่ละสถานีจะมีสายสัญญาณเชื่อมต่อกับศูนย์กลาง ไม่มีการใช้สายสัญญาณร่วมกัน
เมื่อสถานีใดเกิดความเสียหายจะไม่มีผลกระทบกับสถานีอื่น ๆ ปัจจุบันนิยมใช้อุปกรณ์ HUB เป็นตัวเชื่อมต่อจากคอมพิวเตอร์แม่ข่ายหรือคอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง


ข้อดีของการเชื่อมแบบดาว


- ง่ายต่อการใช้บริการ เพราะมีศูนย์กลางอยู่ที่คอมพิวเตอร์แม่ข่ายอยู่เครื่องเดียวและเมื่อเกิดความเสียหายที่คอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่ง คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นก็จะไม่มีผลกระทบอันใดเพราะใช้สายคนละเส้น


ข้อเสียของการเชื่อมแบบดาว


- ต้องใช้สายสัญญาณจำนวนมาก เพราะแต่ละสถานีมีสายสัญญาณของตนเองเชื่อมต่อกับศูนย์กลางจึงเหมาะสมกับเครือข่ายระยะใกล้มาก กว่าการเชื่อมต่อเครือข่ายระยะไกล
การขยายระบบก็ยุ่งยากเพราะต้องเชื่อมต่อสายจากศูนย์กลางออกมา ถ้าศูนย์กลางเสียหายระบบจะใช้การไม่ได้


แบบวงแหวน ( Ring Topology )

แก้

เป็นการเชื่อมต่อเครือข่ายเป็นรูปวงแหวนหรือแบบวนรอบ โดยสถานีแรกเชื่อมต่อกับสถาน สุดท้าย การรับส่งข้อมูลในเครือข่ายจะต้องผ่านทุกสถานี โดยมีตัวนำสารวิ่งไปบนสายสัญญาณของแต่ละสถานี
ต้องคอยตรวจสอบข้อมูลที่ส่งมา ถ้าไม่ใช่ของตนเองต้องส่งผ่านไปยังสถานีอื่นต่อไป


ข้อดีของการเชื่อมแบบแหวน


- ใช้สายสัญญาณน้อยกว่าแบบดาว เหมาะกับการเชื่อมต่อด้วยสายสัญญาณใยแก้วนำแสง เพราะส่งข้อมูลทางเดียวกันด้วยความเร็วสูง


ข้อเสียของการเชื่อมแบบแหวน


- ถ้าสถานีใดเสียระบบก็จะไม่สามารถทำงานต่อไปได้จนกว่าจะแก้ไขจุดเสียนั้น และยากในการตรวจสอบว่ามีปัญหาที่จุดใดและถ้าต้องการเพิ่มสถานีเข้าไปจะพกหระทำได้ยากด้วย


แบบเมชหรือแบบตาข่าย (Mesh Topology)

แก้

รูปแบบเครือข่ายแบบนี้ ปกติใช้ในระบบเครือข่ายบริเวณกว้าง (Wide Area Network) ลักษณะการสื่อสารจะมีการต่อสายหรือการเดินของข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์หรือโหนดไปยังโหนดอื่น ๆ ทุก ๆ ตัว
ทำให้มีทางเดินข้อมูลหลายเส้นและปลอดภัยจากเหตุการณ์ที่จะเกิดจากการล้มเหลวของระบบ แต่ระบบนี้จะมีค่าใช้จ่ายมากกว่าระบบอื่น ๆ เพราะต้องใช้สายสื่อสารเป็นจำนวนมาก


ข้อดีของการเชื่อมแบบเมชหรือแบบตาข่าย


- ในกรณีสายเคเบิ้ลบางสายชำรุด เครือข่ายทั้งหมดยังสมารถใช้ได้ ทำให้ระบบมีเสถียรภาพสูง นิยมใช้กับเครือข่ายที่ต้องการเสถียรภาพสูง และเครือข่ายที่มีความสำคัญ


ข้อเสียของการเชื่อมแบบเมชหรือแบบตาข่าย


- สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย และสายเคเบิ้ลมากกว่าการต่อแบบอื่น ๆ
- ยากต่อการติดตั้ง เดินสาย เคลื่อนย้ายปรับเปลี่ยนและบำรุงรักษาระบบเครือข่าย


WAN Technology

แก้

Circuit switching

แก้

ความหมายของ Circuit switching

แก้


Circuit switching เทคนิคในการสื่อสารข้อมูลจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง เมื่อมีการเชื่อมต่อกันแล้วจะติดต่อกันได้ตลอดเวลา ผู้อื่นจะแทรกเข้ามาไม่ได้เลย จนกว่าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะปลดวงจรออก ตัวอย่างง่าย ๆ
เช่นการติดต่อทางสายโทรศัพท์ เมื่อเริ่มพูดกันได้แล้ว คนอื่นจะต่อสายแทรกเข้ามาไม่ได้ จนกว่าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะวางหูลง (ปลดวงจร)

หลักการทำงาน Circuit switching

แก้


1) เมื่อสถานีA ต้องการส่งข้อมูลให้กับ สถานีB จะต้องมีการสร้างเส้นทางเสียก่อน โดยที่ฝั่งที่รับข้อมูลจะต้องตอบว่าพร้อมรับข่าวสาร (Establishment/ Connection)
2) เมื่อสร้างเส้นทางการส่งข้อมูลเรียบร้อย ตลอดเวลาของการสื่อสารจะใช้เส้นทางเดิมตลอดและไม่มีบุคคลอื่นมาใช้เส้นทาง
3) มีอัตราความเร็วในการส่งเท่ากันทั้งด้านรับและด้านส่ง
4) มีการทำ Error Control และ Flow Control ทุกๆ ชุมสาย
5) ในขณะทำการส่งข้อมูล ข้อมูลจะถูกส่งด้วยความเร็วคงที่ และไม่มีการหน่วงเวลา(Delay)
6) เมื่อส่งข้อมูลเสร็จจะยกเลิกเส้นทางที่ได้เชื่อมต่อขึ้นมาเพื่อให้เครื่องอื่นได้ใช้เส้นทางได้

ตัวอย่างระบบ Circuit switching

แก้


-โมเด็มและระบบโทรศัพท์ (Modem and Telephone System)\
- สายคู่เช่า (Leased Line)
- ISDN (Integrated Services Digital Network)
- DSL (Digital Subscriber line)
- เคเบิลโมเด็ม (Cable Modem)

ลักษณะการเชื่อมต่อ

แก้


เชื่อมต่อทางกายภาพของวงจรระหว่างจุดต่อจุด (point-to-point)

ข้อดี Circuit switching

แก้


- ปริมาณในการส่งข้อมูลได้ อัตราการส่งข้อมูล ความเร็วในการส่งข้อมูลจะคงที่ อัตราเดิม
- Delay ที่เกิดขึ้นจะเรียกว่า propagation delay คือเวลาที่ข้อมูลวิ่งอยู่ในสายสัญญาณ – เร็วเท่าแสง
- Delay ที่ node คือเวลาที่ข้อมูลวิ่งระหว่าง node อาจเป็น delay ที่เกิดเนื่องจากการประมวลผลอะไรบางอย่าง ถือว่าน้อยมากจนถือว่าไม่สำคัญ เพราะว่ามันแทบจะไม่เกิด

ข้อเสีย Circuit switching

แก้


-หากคอมพิวเตอร์หรือเทอร์มินัลติดต่อกับศูนย์ข้อมูล ในการเรียกค้นข้อมูลเป็นระยะจะทำให้มีช่วงเวลาที่สายสัญญาณ ไม่มีการใช้และผู้อื่นก็ใช้ไม่ได้ ธรรมชาติของการใช้งานไม่ได้ออกแบบ
มาให้ใช้งานพร้อมกันอย่างเต็มประสิทธิภาพ เช่น ระบบโทรศัพท์ 100 เลขหมาย จะสามารถใช้งานพร้อมๆกันได้ไม่ถึง 50%
- การเชื่อมโยงอุปกรณ์ระหว่างสถานีต้นทางกับปลายทางต้องตกลงและใช้มาตรฐานเดียวกัน
- การติดต่อสื่อสารข้อมูลนี้ผู้ใช้จะต้องมีระบบซอฟต์แวร์ในการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลเอง เพราะชุมสายจะไม่มีระบบตรวจสอบข้อมูลในชุมสายทำหน้าที่เพียงการสวิตช์วงจรให้เท่านั้น
Circuit Switching นั้นออกแบบมาเพื่อส่งข้อมูลทางเสียง
- อัตราการส่งข้อมูลจะเป็นตัวจำกัดอุปกรณ์ที่ต่อพ่วงเนื่องจากถูกออกแบบมาเพื่อส่งข้อมูลทางเสียงในอัตราที่มนุษย์สามารถรับรู้ ได้
- มีขีดจำกัดแน่นอนอยู่แล้วที่ระบบ Hardware
- ยากและลงทุนสูงในการ Upgrade backbone


Packet switching

แก้

ความหมายของ Packet switching

แก้


เทคนิคในการแบ่งข้อมูลออกเป็นกลุ่ม (Packet) แต่ละกลุ่มจะมีความยาวเท่ากัน (ปกติ 100บิต)ข้อมูลจะหาทิศทางเดินไปได้เอง โดยที่สายหนึ่ง ๆ จะสามารถใช้กันได้หลายคน เมื่อถึงที่ปลายทางข้อมูลก็จะกลับ ไปรวมกันเอง

หลักการทำงาน Packet switching

แก้


1) เมื่อ สถานี A ต้องการส่งข้อมูลให้กับสถานีB จะมีการแบ่งข้อมูลออกเป็น Packet ย่อยก่อนจะถูก ส่งออกไป
2) ส่งข้อมูลโดยใช้ชุมสาย PSE (Packet switching exchange) ควบคุมการรับส่ง
3) ทำ Error control หรือ Flow Control ที่ PSE
4) ด้านรับและด้านส่งมีอัตราความเร็วที่ไม่เท่ากันได้
5) ใช้เทคนิค Store - and - Forward ในการส่งข้อมูล ผ่าน PSE

ตัวอย่างระบบ Packet switching

แก้


เป็นเทคโนโลยีพื้นฐานที่ใช้ในการ ส่งข้อมูลภายในสำหรับระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตในปัจจุบัน ระบบที่เป็น Package switch เช่น Frame relay เป็นระบบโทรศัพท์แบบดิจิตอล และ ATM
เป็นระบบการส่งข้อมูลประเภท ภาพและเสียง (multimedia)

ลักษณะการเชื่อมต่อ Packet switching

แก้


ส่งแต่ละแพกเกตด้วยเส้นทางต่างๆที่เชื่อมโยงกันเป็นตาข่าย และทำการรวมแต่ละแพคเกตกลับคืนเมื่อถึงจุดหมายแล้ว

ข้อดี Packet switching

แก้


- Flexibility โครงข่ายดังกล่าวนี้ทำให้ใช้งานพร้อมกันหลาย ๆ ระบบได้ โดยงานประยุกต์แต่ละระบบไม่ยุ่งเกี่ยวกัน แต่ใช้ผ่านชุมสายเดียวกัน
- Robustness มีความแข็งแกร่ง ถ้าเส้นทางใดเส้นทางหนึ่งเสียหายก็สามารถใช้เส้นทางอื่นได้ อุปกรณ์ต้นทางกับปลายทาง สามารถส่งด้วยความเร็วที่ต่างกันได้เพราะชุมสายจะเป็นผู้แปลงสัญญาณ ให้ความเร็วเข้ากันได้
- Responsiveness มีการรับประกันความถูกต้องของข้อมูลที่รับส่งทำให้ระบบมีความเชื่อถือสูง สามารถใช้ในระบบที่โต้ตอบด้วยความเร็วได้ ตัว IMP สามารถที่จะทำงานเพิ่มเติมบางอย่างได้
เช่น การตรวจสอบความ ผิดพลาดก่อนที่จะส่งต่อไป หรืออาจทำการเปลี่ยนรหัสก่อนก็ได้

ข้อเสีย Packet switching

แก้


-บางครั้งถ้ามีปริมาณPacket จำนวนมากเข้ามาพร้อมกันจะทำให้ IMPทำงานไม่ทัน อาจทำให้มีบางPacket สูญหายไปได้ - มี delay เกิดขึ้นในระหว่างที่ส่งข้อมูล
= ความยาวของ package / ขนาดของ overhead datarate ขนาดของ package มีขนาดไม่แน่นอน
-Package แต่ละ package อาจวิ่งไปคนละเส้นทางได้ แต่ละเส้นทางจะมี delay ไม่เท่ากัน ซึ่งทำให้เกิดปัญหา package ที่ส่งมาที่หลังมาถึงก่อน ฝ่ายรับต้องมีวิธีจัดการกับ package ที่ยุ่งยากขึ้น
-ถ้ามี delay มากจะเกิดความแออัดในเครือข่าย
- มี overhead เกิดขึ้นในการส่งข้อมูล โดย overhead ที่เกิดขึ้นคือที่อยู่ของปลายทาง, sequence ซึ่งทำให้ส่งข้อมูลได้น้อย ทำให้ประสิทธิภาพในการส่งลดลง


OSI model + TCP/ IP mode

แก้
_ OSI Model _ _________ TCP/IP __________
7 Application Application FTP,Telnet,HTTP,
SMTP,SNMP,DNS,etc
6 Presentation Application FTP,Telnet,HTTP,
SMTP,SNMP,DNS,etc
5 Session Application
Host-to-Host
TCP UDP
4 Transport Host-to-Host TCP UDP
3 Network Internet ICMP,IGMP
Ip
2 Data link Network Access Not Specified
1 Physical Network Access Not Specified

หน้าที่การทำงานของชั้นสื่อสาร

แก้
ลำดับชั้น ชื่อชั้นสื่อสาร หน้าที่ของชั้นสื่อสาร
1. Physical เคลื่อนย้ายข้อมูลระดับบิตจากโหนดหนึ่งไปยังโหนดถัดไป
2. Data link เคลื่อนย้ายเฟรมจากโหนดหนึ่งไปยังโหนดถัดไป
3. Network ส่งมอบแพ็กเก็ตจากโฮสต์หนึ่งไปยังโฮสต์ปลายทาง
4. Transport ส่งมอบข่างสารจากโปรเซสต้นทางไปยังโปรเซสปลายทาง
5. Session ควบคุมการสื่อสารและการซิงโครไนซ์
6. Presentation แปลงข้อมูล เข้ารหัสข้อมูล และบีบอัดข้อมูล
7. Application จัดการงานบริการให้แก่ผู้ใช้

อ้างอิง

แก้


http://www.superict.com/component/viewall_section.php?section_id=1
https://sites.google.com/site/brrcngiphone/kar-suxsar-khx-mul-laea-kherux-khay/rup-baeb-kar-cheuxm-tx-kherux-khay-bus-topology-ring-topology-laksna-khxdi-khx-seiy
https://chansuk54.wordpress.com/รูปร่างเครือข่าย/แบบเมช-mesh-topology/
http://nooplemonic.exteen.com/20090706/circuit-switching-packet-switching