การป้อนกลับสถานะแบบเต็ม (Full state feedback FSF) หรือ การวางขั้ว placement ซึ่งเป็นวิธีการออกแบบตัวควบคุมสำหรับป้อนกลับในทฤษฎีระบบควบคุม เพื่อวางขั้วของระบบวงปิดในเป็นไปในตำแหน่งที่ผู้ออกแบบต้องการในระนาบจของผลการแปลงลาปลาซ (s-plane) [1] โดยการวางขั้วในที่นี้หมายถึงการกำหนดค่าลักษณะเฉพาะของตัวระบบ (ค่าลักษณะเฉพาะเมทริกซ์ A ในสมการแบบจำลองปริภูมิสถานะ) นั้นมีความเกี่ยวพันกับเสถียรภาพของตัวระบบโดยตรงตามทฤษฎีระบบควบคุมเชิงเส้น และวิธีการนี้ใช้ได้กับเฉพาะระบบที่มีทฤษฎีระบบควบคุม#สภาพควบคุมได้เท่านั้น ซึ่งนั้นหมายความว่าในที่นี้เราถือว่าเราสามารถวัดค่าสถานะได้ทุกค่าจากตัวตรวจวัด ซึ่งเป็นกรณีที่อุดมคติมากในความเป็นจริง

หลักการ แก้

ถ้าระบบวงปิดสามารถเขียนให้อยู่ในรูปของสมการปริภูมิสถานะ) ดังนี้แล้ว

 
 

ดังนั้นขั้ว (pole) ของระบบคือรากของสมการลักษณะเฉพาะ ที่มีรูปแบบดังนี้


 

เมื่อทำการป้อนกลับโดยใช้ค่าสถานะทุกตัว   แล้ว (เพราะถือว่าเราสามารถวัดค่าสถานะได้ทุกค่าจากตัวตรวจวัด) สัญญาณขาเข้า   คือ

 .

แทนค่า   ข้างต้นลงในสมการสถานะ จะได้ว่า

 
 

ขั้วของระบบที่ได้รับการป้อนกลับแล้วจะหาได้จากสมการลักษณะเฉพาะ   และโดยการเทียบสัมประสิทธิ์ ของสมการนี้กับ สมการลักษณะเฉพาะที่เราต้องการ ผู้ออกแบบก็จะสามารถหาค่าของเมทริกซ์   ที่ใช้ในการควบคุมระบบให้มีขั้วตามสมการลักษณะเฉพาะที่เราต้องการได้


ตัวอย่าง แก้

พิจารณาสมการปริภูมิสถานะ

 

จะพบว่าเมื่อไม่มีการควบคุมนั้น ตัวระบบวงปิดมีขั้วที่   และ   แต่ถ้าเราต้องการให้ระบบวงปิดมีขั้วที่   และd   แทน (ซึ่งมีสมการลักษณะเฉพาะคือ  ) .

ขั้นตอนการการป้อนกลับสถานะแบบเต็ม เป็นดังนี้คือ กำหนดให้ ค่าคงที่  

และสมการลักษณะเฉพาะของระบบที่ติดตัวแปร  คือ

 .

เมื่อทำการเทียบ สัมประสิทธิ์ของทั้งสองสมการลักษณะเฉพาะแล้วจะได้

 .

จะเห็นได้ว่าการกำหนดให้   (ซึ้งก็คือการป้อนสถานะแบบเต็มนั้นเอง) ทำให้ระบบวงปิดมีขั้วและคุณสมบัติตามที่เราต้องการนั้นเอง

'หมายเหตุ: ตัวอย่างข้างต้นนี้สำหรับกรณี สัญญาณเข้าทางเดียวและสัญญาณขาออกทางเดียว (Single-Input and Single-Output) เท่านั้น ในกรณี สัญญาณขาเข้าหลายทางและสัญญาณขาออกหลายทาง (Multiple-Input and Multiple-Output) ค่า เมทริกซ์   อาจจะมีได้หลายค่าและให้ผลต่อระบบวงปิดในแบบเดียวกัน ดังนั้นการเลือกใช้ K ที่ดีที่สุดและเหมาะกับสภาพความเป็นจริงของปัญหาก็เป็นอีกประเด้นหนึ่งที่ผู้ออกแบบต้องพิจารณา ซึ่งโดยปรกติแล้วเราจะนิยมใช้วิธีการlinear-quadratic regulator กันมากกว่า

อ้างอิง แก้

  1. *Sontag, Eduardo (1998). Mathematical Control Theory: Deterministic Finite Dimensional Systems. Second Edition. Springer. ISBN 0-387-98489-5.

ดูเพิ่ม แก้


ระบบมีพลวัตแบบเวลายง หรือ ระบบไม่แปรเปลี่ยนตามเวลา (Time-invariant system) คือระบบที่คุณสมบัติของระบบไม่เปลี่ยนไปเมื่อเวลาเปลี่ยนไป กล่าวคือ สมมุติว่าไม่มีความล่าช้าเกิดขึ้นในระบบ (ระบบรับสัญญาณขาเข้าแล้วสามารถให้สัญญาณขาออกได้ในทันที) ถ้าป้อนสัญญาณขาเข้า   ที่เวลา   จะได้สัญญาณขาออกเป็น   ที่เวลา   ดังนั้นหากป้อนสัญญาณขาเข้าเดิมที่เวลา   นั้นคือ   สัญญาญาณขาออกผลลัพธ์ก็ต้องเป็น ค่าเดิม คือ  เพียงแต่จะปรากฏที่เวลา   ตามเวลาที่ป้อนสัญญาณขาเข้า  

ตัวอย่างที่หนึ่ง แก้

ตัวอย่างนี้เป็นการพิจารณาอย่างง่าย โดยเมื่อพิจารณา สมการสถานะ :

  • System A:  
  • System B:  

จะเห็นได้ว่า ระบบ A นั้นมีพารามิเตอร์ของระบบ (สัมประสิทธิ์หน้า   ) ขึ้นกับเวลา t อย่างชัดแจ้ง นั้นหมายความว่าระบบมีคุณสมบัติเปลี่ยนแปรตามเวลาได้ ส่วนระบบ B นั้น พารามิเตอร์ของระบบไม่ขึ้นกับ เวลา t ดังนั้นระบบเป็นระบบไม่เปลี่ยนแปลงตามเวลา

ตัวอย่างที่ 2 แก้

ในตัวอยางนี้เราจะใช้นิยามที่ 2 ในการตรวจสอบคุณสมบัติความไม่แปรเปลี่ยนตามเวลาของระบบ

ระบบ A:

พิจารณาสัญญาณขาเข้าที่มีความล่าช้า (delay)  
 
 
และเมื่อพิจารณาสัญณาญขาออกของระบบที่เวลา  
 
 
จะเห็นได้ว่า  , ดังนั้นระบบมีการเปลี่ยนแปรไปตามเวลา

System B:

พิจารณาสัญญาณขาเข้าที่มีความล่าช้า  
 
 
และเมื่อพิจารณาสัญณาญขาออกของระบบที่เวลา  
 
 
จะเห็นได้ว่า  , ดังนั้นระบบไม่มีการเปลี่ยนแปรไปตามเวลา

ตัวอย่างที่ 3 แก้

เราจะใช้ ตัวดำเนินการเลื่อน (shift operator) โดยเขียนในสัญลักษณ์   โดยที่   คือจำนวนที่เราต้องการทำการเลื่อนเชิงเวลา ตัวอย่างเช่น ระบบที่มีการล้ำหน้าเชิงเวลาไป 1 (advance-by-1)


 

เวลาเขียนในรูปแบบที่ใช้ตัวดำเนินการเลื่อนได้ดังนี้

 

โดยที่   คือฟังก์ชันนิยามโดย

 

ซึ่งหลังจากดำเนินการเลื่อนแล้วจะได้ว่า

 

โดยจะเห็นได้ว่า   คือตัวดำเนินการที่ทำให้สัญญาณขาเข้าของเวกเตอร์เลื่อนไปข้างหน้า 1 ขั้นของหน่วยเวลา

หากเราเขียนระบบในในรูปของตัวดำเนินการของตัวระบบ (ในที่นี้คือพารามิเตอร์ A, B, C, D ในรูปแบบสมการปริภูมิสถานะนั้นเอง)   ที่ว่านี้ จะเห็นได้ว่าระบบจะมีคุณสมบัติไม่เปลี่ยแปลงเชิงเวลา ถ้าสมการของตัวระบบมีสมบัติการสลับที่กับตัวดำเนินการเลื่อน ดังนี้


 

นั้นคือถ้าระบบของเราสามารถเขียนได้ในรูปสมการนี้

 

จะเห็นได้ว่าระบบมีคุณสมบัติไม่เปลี่ยแปลงเชิงเวลาถ้าเราสามารถดำเนินการระหว่าง   ต่อ   แล้วตามด้วยนำผลที่ได้ไปดำเนินการกับ   ที่หลัง หรือ เราสามารถดำเนินการ   กับ   ได้เลย แล้วนำผลที่ได้ไปดำเนินการกับ   โดยผลลัทพ์ที่ได้สุดท้าย นั้นจะไม่แต่ต่างกันเลย

โดยการดำเนินการของระบบ   ก่อนกับ   จะได้

 

โดยการดำเนินการเลื่อน   ต่อ   ก่อนจะได้

 

และถ้าระบบมีคุณสมบัติไม่เปลี่ยแปรงเชิงเวลาแล้วจะได้ว่า

 

ดูเพิ่ม แก้


ใน ทฤษฎีระบบควบคุม ดับเบิล อินทิเกรตเตอร์ (double integrator) คือตัวอย่างหนึ่งของแบบจำลองระบบควบคุมอันดับสอง [1] โดยแบบจำลองนี้สามารถอธิบายพลวัตของมวลที่เคลื่อนที่ในปริภูมิหนึ่งมิติภายใต้อิทธิพลของสัญญาณขาเข้าแปรตามเวลา  .

แบบจำลองสมการสถานะ แก้

สมการสถานะของดับเบิล อนทิ

 
 

According to this model, the output   is the second derivative of the input  , hence the name double integrator.

Transfer function representation แก้

Taking the Laplace transform of the state space input-output equation, we see that the transfer function of the double integrator is given by

 

References แก้

  1. Venkatesh G. Rao and Dennis S. Bernstein (2001). "Naive control of the double integrator" (PDF). IEEE Control Systems Magazine. สืบค้นเมื่อ 2012-03-04.