ผู้ใช้:Center for tourism research and development/ทดลองเขียน

ศูนย์วิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยว สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ แก้

1. ทำความรู้จักศูนย์วิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยว แก้

ประวัติ แก้

ศูนย์วิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยว (ภาษาอังกฤษ: Center of Tourism Research and Development:CTRD) สังกัดสถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการท่องเที่ยวและการพัฒนาสังคม และชุมชน

โดยในขั้นแรกเริ่มนั้น สถาบันวิจัยสังคม ได้ดำเนินงานวิจัยในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน ในประเด็นทางด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์เป็นหลัก แต่ในระยะต่อมา ในช่วงตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 เป็นต้นมา ได้ศึกษาวิจัยในประเด็นด้านการท่องเที่ยวเพิ่มเติม มุ่งหวังที่จะสนับสนุนการพัฒนาการท่องเที่ยวของภาคเหนือตอนบน และส่งเสริมการสร้างสรรค์ชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของภาคเหนือตอนบน และเป็นศูนย์กลางการบริการวิชาการแก่สังคมด้วย ดร. กรวรรณ สังขกร นักวิจัย (ชำนาญการพิเศษ) ของสถาบันวิจัยสังคม จึงได้หารือกับที่ปรึกษาฯ คือ คุณสุรีย์ บุญญานุพงศ์ นักวิจัย (ผู้เชี่ยวชาญ) ของสถาบันวิจัยสังคม และได้ร่วมกันริเริ่มก่อตั้งศูนย์วิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยวขึ้น

ตัวอย่างผลงานการวิจัยและบริการวิชาการแก่สังคม อาทิ การวิจัยประเพณีเพื่อการท่องเที่ยว ผลกระทบจากการท่องเที่ยวต่อชุมชน การท่องเที่ยวต่อการเปลี่ยนแปลงในชุมชน นอกจากนี้ ยังได้ศึกษา วิจัย และบริการวิชาการที่เกี่ยวช้องทางด้านท่องเที่ยวในลักษณะที่เจาะลึกมากขึ้น อาทิ การวางแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว การท่องเที่ยวชุมชน การบริหารจัดการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ฯลฯ

ศูนย์วิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยว มีขอบเขตการดำเนินงานดังนี้

1. วิจัยและพัฒนาการบริหารจัดการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวชุมชน เพื่อวางแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว ทำให้เกิดรายได้สู่ชุมชน จังหวัดเชียงใหม่ และประเทศไทย
2. ผลิตบทความวิชาการด้านการท่องเที่ยว นำเสนอในวารสารวิชาการระดับชาติและนานาชาติ และทำเสนอในที่ประชุมวิชาการะดับชาติและนานาชาติ
3. รวมรวบ และจัดทำฐานข้อมูลด้านกาท่องเที่ยว อาทิ แหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบน หมู่บ้านที่มีการจัดการ homestay ฯลฯ
4. บริการวิชาการ จัดประชุม อบรม ให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการให้บริการด้านการท่องเที่ยว และดำเนินการบริการวิชาการรับใช้ชุมชนด้านการท่องเที่ยว
5. เผยแพร่องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาวิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยว ไปสู่การเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ในสถาบันการศึกษาต่างๆ ที่มีการจัดการเรียนการสอนใน หลักสูตรหรือเนื้อหาที่มีความเกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว


ขอบเขตด้านพื้นที่ แก้

• ชุมชนโดยรอบมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาทิ ตำบลสุเทพ ตำบลช้างเผือก ถนนนิมมานเหมินทร์

• จังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดอื่นๆ ในภาคเหนือตอนบน คือ เชียงราย ลำพูน ลำปาง แพร่ น่าน พะเยา และแม่ฮ่องสอน

• พื้นที่อื่นๆ ในประเทศไทย

• ประเทศเพื่อนบ้านในประชาคมอาเซียน


2. โครงสร้าง แก้

บุคลากร ณ ปี ปัจจุบัน แก้

ชื่อ ตำแหน่ง
ดร.กรวรรณ สังขกร นักวิจัย (ชำนาญการพิเศษ), หัวหน้าศูนย์วิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยว สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, รองผู้อำนวยการสถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ดร. เผชิญวาส ศรีชัย นักวิจัย, รองหัวหน้าศูนย์วิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยว สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ดร. ศันสนีย์ กระจ่างโฉม นักวิจัย
ดร. รชพรรณ ฆารพันธ์ นักวิจัย
ดร. สุดารัตน์ อุทธารัตน์ นักวิจัย
นายคุณากร เมืองเดช ผู้ช่วยนักวิจัย
นายธัชกร ป้อปาลี ผู้ช่วยนักวิจัย
นางสาวชยานุช ชัยประเสริฐ ผู้ช่วยนักวิจัย
นายนิเวศน์ พูนสุขเจริญ ผู้ช่วยนักวิจัย
นางสาวศศิพร แก้วพินิจ ผู้ช่วยนักวิจัย
นายณัฎธ์ เต่าทอง ผู้ช่วยนักวิจัย


3. ที่อยู่ติดต่อ แก้

ที่อยู่ทางกายภาพ แก้

ศูนย์วิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยว สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
239 ถ.ห้วยแก้ว ต.สุเทพ อ.เมือง เชียงใหม่ 50200

ช่องทางติดต่ออื่นๆ แก้

โทรศัพท์ 053 - 942571, 053 - 942568

โทรสาร 053 - 942586

CTRD Facebook Fanpage

CTRD Twitter


4. โครงการวิจัย แก้

ปี โครงการวิจัย ระยะเวลาดำเนินการ
2562 โครงการจ้างที่ปรึกษาติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ประจำปี 2562 1 ตุลาคม 2561 – 30 กันยายน 2562
โครงการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนาเมืองยั่งยืนเพื่อรองรับท่องเที่ยวไทย 4.0: แผนเมืองท่องเที่ยววัฒนธรรม ลำปางเซรามิกซิตี้ 14 กุมภาพันธ์ 2562 – 15 กุมภาพันธ์ 2563
2560 โครงการเสริมสร้างความเชื่อมั่นต่อเหตุการณ์ภัยพิบัติต่างๆ แผนปฏิบัติการพัฒนาการท่องเที่ยวภายในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา 2559 - 2563
เมืองอัจฉริยะสำหรับนักท่องเที่ยวผู้อายุในภาคเหนือตอนบน 1 1 ปี
ศึกษาและฟื้นฟูอัตลักษณ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ประเพณีล้านนา 12 เดือน เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ผลกระทบของการเคลื่อนย้ายแรงงานด้านการท่องเที่ยวต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
2559 โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการเพื่อส่งเสริมธุรกิจท่องเที่ยวที่เป็นมิตรกับชุมชน กรณีศึกษาพื้นที่ล่ามช้าง 6 เดือน
โครงการพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวสุดยอดอารยธรรมล้านนา เพื่อคัดเลือกศักยภาพเส้นทางต้นแบบ “the ultimate lanna experience campaign” 180 วัน
การพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวเชิงประเพณีและวิถีชีวิตเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในเส้นทางอารยธรรมล้านนา
โครงการจัดทำประเด็นสำคัญในบริบทเชิงพื้นที่ในโครงการการเตรียมการเพื่อสังคมสูงวัยในอนาคตของประเทศไทยในพื้นที่ภาคเหนือ
2558 การจัดการท่องเที่ยวแบบ e – tourism ของชุมชนล่ามช้าง-เชียงมั่น แบบสื่อปฏิสัมพันธ์ โดยใช้เทคโนโลยีโลกเสมือนจริง
การศึกษาบทเรียนจากเมืองมรดกโลกหลวงพระบางสู่ว่าที่เมืองมรดกโลกเชียงใหม่:กรณีศึกษาการกำหนดเขตการใช้ที่ดินและการแปลงเฮือนพักนักท่องเที่ยว
โครงการ กิจกรรมพัฒนาชุมชนนิเวศต้นแบบเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวของจังหวัดเชียงใหม่ ภายใต้โครงการท่องเที่ยวเมืองเชิงนิเวศและ homestay 160 วัน
การสร้างเครือข่ายพัฒนาการท่องเที่ยวเชียงใหม่ – หลวงพระบางในเส้นทางอารยธรรมล้านนา
2557 แผนงานวิจัย “การพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยว ; ตลาดนักท่องเที่ยวจีน” กันยายน 2557 – สิงหาคม 2558 (1ปี)
แผนงานวิจัย “การศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพการแขงขันทางการตลอดการท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรมในเส้นทางอารยธรรมล้านนา ภายใต้แผนงาน แผนงาน “การบริหารจัดการและการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเส้นทางอารยธรรมล้านนาเชื่อมโยงกับสปป.ลาว สหภาพเมียนมาร์และสาธารณรัฐประชาชนจีน (ตอนใต้)” สิงหาคม 2557 - กันยายน 2558 (1ปี)
โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาอำเภอสะเมิงให้เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เสนอ จังหวัดเชียงใหม่ สิงหาคม 2557 – มกราคม 2558 (6เดือน)
แผนงานวิจัย เรื่อง “การบริหารและการจัดการการท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ” สิงหาคม 2556 – กรกฏาคม 2557 (1ปี)
โครงการวิจัย เรื่อง “ความคาดหวังและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวจีนในประเทศไทยหลังกระแสภาพยนตร์ the lost in Thailand กุมภาพันธ์ – สิงหาคม 2557 รวมเวลา 7 เดือน
โครงการ “การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก”ปี 2557 เมษายน – พฤศจิกายน 2557 เวลา 8 เดือน
แผนงานวิจัย เรื่อง “การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ slow tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ” เมษายน 2553 – มีนาคม 2554 รวมเวลา 1 ปี
โครงการส่งเสริมและพัฒนาบริการท่องเที่ยวสีเขียว (green service) เมษายน - ตุลาคม 2557 รวมเวลา 7 เดือน
โครงการที่พักสัมผัสวัฒนธรรมชนบท (homestay) พัฒนาเศรษฐกิจชุมชนสินค้า otop เมษายน - ตุลาคม 2557 รวมเวลา 7 เดือน
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก ปี 2556 พฤษภาคม – ตุลาคม 2556 รวมเวลา 6 เดือน
การพัฒนาศักยภาพชุมชนวัฒนธรรมสร้างสรรค์เพื่อสนับสนุนเชียงใหม่เมืองสร้างสรรค์งบประมาณแผ่นดิน ตุลาคม 2555 – กันยายน 2557 รวมเวลา 2 ปี
โครงการวิจัย เรื่อง “การศึกษาเปรียบเทียบทุนทางสังคมระหว่างชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียงและชุมชนที่ไม่ใช่ต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียงในเขตภาคเหนือตอนบน เมษายน 2553 – กันยายน 2554 รวมเวลา 1 ปี 6 เดือน
โครงการวิจัย เรื่อง “การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการท่องเที่ยวและการค้าในลุ่มน้ำโขง” ตุลาคม 2551 - กันยายน 2552 รวมเวลา 1 ปี
โครงการวิจัย เรื่อง “การศึกษาทัศนคติของคนในท้องถิ่นต่อพฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวต่างชาติ” ภายใต้แผนงานวิจัย เรื่อง “โครงการพัฒนาการอุตสาหกรรมท่องเที่ยวที่ยั่งยืนในภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง ปี 2551; ตลาดใหม่และความท้าทาย” เมษายน 2551 – มีนาคม 2552 รวมเวลา 1 ปี
โครงการวิจัย เรื่อง “การประยุกต์แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน” ตุลาคม 2550 – กันยายน 2551 รวมเวลา 1 ปี
โครงการวิจัย เรื่อง “กลยุทธ์การแข่งขันด้านการท่องเที่ยวของไทยและประเทศในภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงภายใต้ภาวการณ์ขยายตัวของตลาดท่องเที่ยวจีน” ตุลาคม 2549 – กันยายน 2550 รวมเวลา 1 ปี
โครงการวิจัย เรื่อง “ผลกระทบจากการเป็นเมืองท่าของ อ.เชียงแสนและ อ.เชียงของ จังหวัดเชียงราย” ตุลาคม 2548 – กันยายน 2549 รวมเวลา 1 ปี
โครงการวิจัย เรื่อง “ความสัมพันธ์ระหว่างล้านนา ล้านช้าง; เปรียบเทียบประเพณี 12 เดือน ตุลาคม 2547 – กันยายน 2548 รวมเวลา 1 ปี
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยวมี่มีคุณภาพและเป็นมิตรกับชุมชนในเขตเมืองเก่าจังหวัดเชียงใหม่ สิงหาคม 2557 - พฤษภาคม 2558 รวมเวลา 10 เดือน
โครงการ แนวทางพัฒนาศักยภาพและความพร้อมของผู้ประกอบการในการให้บริการการท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาวในจังหวัดเชียงใหม่ ตุลาคม 2557 – กันยายน 2558 เวลา 1 ปี
โครงการ การพัฒนาศักยภาพทางการแข่งขันของการท่องเที่ยวชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่และลำพูนในการรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ตุลาคม 2557 - กันยายน 2558 รวมเวลา 1 ปี
2556 โครงการ การศึกษาและถอดองค์ความรู้การดำเนินงานอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมโดยภาคประชาชนในภาคเหนือตอนบน ตุลาคม 2556 – กันยายน 2557 รวมเวลา 1 ปี
โครงการวิจัย “ภูมิสังคมล้านนาในห้วง 10 ทศวรรษการพัฒนากับการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน” กรกฏาคม – ธันวาคม 2556 รวมเวลา 6 เดือน
โครงการวิจัย เรื่อง “การจจัดการท่องเที่ยวชุมชนภายใต้แนวคดเศรษฐกิจพอเพียง ; กรณีศึกษาชุมชนประวัติศาสตร์ขุนตาน อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน 1 ปี


5. บทความและการตีพิมพ์เผยแพร่ แก้

บทความ ตีพิมพ์เผยแพร่
เหมี้ยง: ภูมิปัญญาท้องถิ่นบนทางแยก 2019-05-14 17:27:40
ของกิ๋นคนเมือง 2019-05-13 10:59:15
ของกิ๋นคนเมือง : ลาบเมือง (ตอนจบ) 2019-05-10 07:29:54
ของกิ๋นคนเมือง : ลาบเมือง (ตอนที่ 1) 2019-05-07 23:14:51
ของกิ๋นคนเมือง : ลาบ 2019-05-03 07:08:01
เที่ยวไม่เสียเที่ยว ! แชร์พิกัดสถานที่น่าเที่ยว 3 สไตล์ใน อำเภอเชียงของ 2019-02-11 14:42:13
เรื่องเล่า 7 จังหวัดในภาคเหนือตอนบน : ชุมชนบ้านทุ่งโฮ่ง 2019-01-23 15:43:13
เรื่องเล่า 7 จังหวัดในภาคเหนือตอนบน : วนอุทยานแพะเมืองผี 2019-01-23 15:41:27
เรื่องเล่า 7 จังหวัดในภาคเหนือตอนบน : บ้านวงศ์บุรี 2019-01-23 15:39:31
เรื่องเล่า 7 จังหวัดในภาคเหนือตอนบน : พิพิธภัณฑ์เมืองแพร่คุ้มเจ้าหลวงเมืองแพร่ 2019-01-23 15:37:35
เรื่องเล่า 7 จังหวัดในภาคเหนือตอนบน : วัดพระธาตุช่อแฮ พระอารามหลวง 2019-01-23 15:35:15
เรื่องเล่า 7 จังหวัดในภาคเหนือตอนบน : อุทยานแห่งชาติศรีน่าน (ดอยเสมอดาว) 2019-01-23 15:32:39
เรื่องเล่า 7 จังหวัดในภาคเหนือตอนบน : บ่อเกลือสินเธาว์ 2019-01-23 15:30:37
เรื่องเล่า 7 จังหวัดในภาคเหนือตอนบน : วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร 2019-01-23 15:17:47
เรื่องเล่า 7 จังหวัดในภาคเหนือตอนบน : วัดภูมินทร์ 2019-01-23 15:15:51
เรื่องเล่า 7 จังหวัดในภาคเหนือตอนบน : พระธาตุแช่แห้ง 2019-01-23 15:13:38
เรื่องเล่า 7 จังหวัดในภาคเหนือตอนบน : หมู่บ้านกะเหรี่ยง 2019-01-22 16:19:17
เรื่องเล่า 7 จังหวัดในภาคเหนือตอนบน : ปางอุ๋ง 2019-01-22 16:15:36
เรื่องเล่า 7 จังหวัดในภาคเหนือตอนบน : ทุ่งบัวตอง 2019-01-22 16:12:10
เรื่องเล่า 7 จังหวัดในภาคเหนือตอนบน : ถ้ำน้ำลอด 2019-01-22 16:00:17
เรื่องเล่า 7 จังหวัดในภาคเหนือตอนบน : พระธาตุดอยกองมู 2019-01-22 15:56:34
เที่ยวเพื่อกิน กินเพื่อประสบการณ์ สำรวจรสนิยมชิมของบ้านๆ ที่กลายมาเป็นเทรนด์การท่องเที่ยวโลก 2018-08-14 17:12:44
วัดพระธาตุลำปางหลวง 2017-08-10 09:41:50
One day trip มวกเหล็ก เที่ยว 5 จุดสุดฮอต 2017-08-07 10:24:47
เที่ยวสุพรรณ 1 วัน เยือนเมืองอู่ทอง ไหว้พระออมบุญ 5 ขุนเขา 2017-08-07 10:20:11
15 ชุมชนน่าเที่ยว สัมผัสวิถีชีวิต ฟินธรรมชาติ 2017-08-07 10:18:52
ปักหมุดเที่ยว 10 จุดแลนด์มาร์คแห่งแม่กำปอง 2017-08-07 10:17:32


6. ผลลัพธ์จากโครงการต่างๆ แก้

คู่มือ ผู้เขียน ปีที่จัดทำ
วิถีกาแฟแม่ฮ่องสอน : เมือง – กาแฟ – ป่า - ชาติพันธุ์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยว สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2562
จากรายงานวิจัย “การศึกษาเพื่อยกระดับเส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเพื่อการเรียนรู้คุณค่าสถาปัตยกรรมในเส้นทางอารยธรรมล้านนา” ดร.คันสนีย์ กระจ่งโฉม และคณะ 2561
ผลกระทบของปัญหาหมอกควันในเชียงใหม่ กวิน ชัยสุวรรณดุสิต 2562
คู่มือพิธีสืบชะตาโบราณล้านนา ดร.กรวรรณ สังชกร, ชนินทร์ เขียวสนุก, จักรพงษ์ วิชญสกุล 2561
การท่องเที่ยวฮาลาล ดร.กรวรรณ สังชกร, คุณากร เมืองเดช 2562
สารวาร LANNA SPIRIT ฉบับที่ 4 กรกฏาคม 2561 ศูนย์วิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยว สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,Chiang Mai University 2561
สารวาร LANNA SPIRIT ฉบับที่ 3 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561 ศูนย์วิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยว สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,Chiang Mai University 2561
สารวาร LANNA SPIRIT ฉบับที่ 2 ,มีนาคม – เมษายน 2561 ศูนย์วิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยว สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,Chiang Mai University 2561
สารวาร LANNA SPIRIT ฉบับที่ 1 ,มกราคม – กุมภาพันธ์ 2561 ศูนย์วิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยว สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,Chiang Mai University 2561
โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาอำเภอสะเมิงให้เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาอำเภอสะเมิงให้เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 2558
คู่มือแนวทางการปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยว ให้เหมาะสมสำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ โครงการวิจัย แนวทางการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว แบบมีส่วนร่วมระหว่างนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุและชุมชนในแหล่งท่องเที่ยว 2556
การพัฒนาศักยภาพชุมชนวัฒนธรรมสร้างสรรค์ ตลาดสร้างสุข ชุมชนสร้างสรรค์ โครงการกรพัฒนาศักยภาพชุมชนวัฒนธรรมสร้างสรรค์เพื่อสนับสนุนเชียงใหม่เมืองสร้างสรรค์ 2557
THE ROUTE OF ULTIMATE LANNA 5 PROVINCE (CHN) โครงการ ULTIMATE LANNA 2560
THE ROUTE OF ULTIMATE LANNA 5 PROVINCE โครงการ ULTIMATE LANNA GUIDELINES FOR SAFETY TOURISM IN LANNA 2560
GUIDELINES FOR SAFETY TOURISM IN LANNA โครงการ 2560
SMART CITY FOR AGING TOURISM โครงการ “เมืองอัจฉจิยะสำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุในภาคเหนือตอนบน 1 2560
คู่มือเสริมสร้างความเชื่อมั่นต่อเหตุการณ์ภัยพิบัติ โครงการ การเสริมสร้างความเชื่อมั่น ต่อเหตุการณ์ภัยพิบัติต่างๆ ด้านการท่องเที่ยวในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา พ.ศ. 2561-2563 2560


7. เครือข่าย แก้

ชุมชน / หน่วยงาน / องค์กร ฯลฯ แก้

โครงการ เครือข่าย
โครงการจ้างที่ปรึกษาติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ประจำปี 2562 องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่
โครงการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนาเมืองยั่งยืนเพื่อรองรับท่องเที่ยวไทย 4.0: แผนเมืองท่องเที่ยววัฒนธรรม ลำปางเซรามิกซิตี้ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
โครงการเสริมสร้างความเชื่อมั่นต่อเหตุการณ์ภัยพิบัติต่างๆ แผนปฏิบัติการพัฒนาการท่องเที่ยวภายในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงใหม่
เมืองอัจฉริยะสำหรับนักท่องเที่ยวผู้อายุในภาคเหนือตอนบน 1 งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจำปี 2560 ตามแนวทางการสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับเศรษฐกิจภายในประเทศ
ศึกษาและฟื้นฟูอัตลักษณ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ประเพณีล้านนา 12 เดือน เส้นทางอารยธรรมล้านนา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผลกระทบของการเคลื่อนย้ายแรงงานด้านการท่องเที่ยวต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการเพื่อส่งเสริมธุรกิจท่องเที่ยวที่เป็นมิตรกับชุมชน กรณีศึกษาพื้นที่ล่ามช้าง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โครงการพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวสุดยอดอารยธรรมล้านนา เพื่อคัดเลือกศักยภาพเส้นทางต้นแบบ “the ultimate lanna experience campaign” กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
การพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวเชิงประเพณีและวิถีชีวิตเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในเส้นทางอารยธรรมล้านนา สำนักงานกองทุนส่งเสริมการวิจัย (งบมุ่งเป้า คอบช.)
โครงการจัดทำประเด็นสำคัญในบริบทเชิงพื้นที่ในโครงการการเตรียมการเพื่อสังคมสูงวัยในอนาคตของประเทศไทยในพื้นที่ภาคเหนือ สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ
การจัดการท่องเที่ยวแบบ e – tourism ของชุมชนล่ามช้าง-เชียงมั่น แบบสื่อปฏิสัมพันธ์ โดยใช้เทคโนโลยีโลกเสมือนจริง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การศึกษาบทเรียนจากเมืองมรดกโลกหลวงพระบางสู่ว่าที่เมืองมรดกโลกเชียงใหม่:กรณีศึกษาการกำหนดเขตการใช้ที่ดินและการแปลงเฮือนพักนักท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โครงการ กิจกรรมพัฒนาชุมชนนิเวศต้นแบบเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวของจังหวัดเชียงใหม่ ภายใต้โครงการท่องเที่ยวเมืองเชิงนิเวศและ homestay จังหวัดเชียงใหม่
การสร้างเครือข่ายพัฒนาการท่องเที่ยวเชียงใหม่ – หลวงพระบางในเส้นทางอารยธรรมล้านนา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนงานวิจัย “การพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยว ; ตลาดนักท่องเที่ยวจีน” สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ
แผนงานวิจัย “การศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพการแขงขันทางการตลอดการท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรมในเส้นทางอารยธรรมล้านนา ภายใต้แผนงาน แผนงาน “การบริหารจัดการและการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเส้นทางอารยธรรมล้านนาเชื่อมโยงกับสปป.ลาว สหภาพเมียนมาร์และสาธารณรัฐประชาชนจีน (ตอนใต้)” สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ
โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาอำเภอสะเมิงให้เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เสนอ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
แผนงานวิจัย เรื่อง “การบริหารและการจัดการการท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ” สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ
โครงการวิจัย เรื่อง “ความคาดหวังและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวจีนในประเทศไทยหลังกระแสภาพยนตร์ the lost in Thailand มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โครงการ “การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก”ปี 2557 กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา ผ่านวิทยาลัยศิลปะ สื่อ และเทคโนโลยี มช.
แผนงานวิจัย เรื่อง “การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนแบบ slow tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ” สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ
โครงการส่งเสริมและพัฒนาบริการท่องเที่ยวสีเขียว (green service) กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา ผ่านวิทยาลัยศิลปะ สื่อ และเทคโนโลยี มช.
โครงการที่พักสัมผัสวัฒนธรรมชนบท (homestay) พัฒนาเศรษฐกิจชุมชนสินค้า otop กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา ผ่านวิทยาลัยศิลปะ สื่อ และเทคโนโลยี มช.
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก ปี 2556 กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา ผ่านวิทยาลัยศิลปะ สื่อ และเทคโนโลยี มช.
การพัฒนาศักยภาพชุมชนวัฒนธรรมสร้างสรรค์เพื่อสนับสนุนเชียงใหม่เมืองสร้างสรรค์งบประมาณแผ่นดิน งบประมาณแผ่นดิน
โครงการวิจัย เรื่อง “การศึกษาเปรียบเทียบทุนทางสังคมระหว่างชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียงและชุมชนที่ไม่ใช่ต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียงในเขตภาคเหนือตอนบน งบประมาณแผ่นดิน
โครงการวิจัย เรื่อง “การพัฒนาเมืองชายแดนเพื่อรองรับผลกระทบจากการท่องเที่ยวและการค้าในลุ่มน้ำโขง” งบประมาณแผ่นดิน
โครงการวิจัย เรื่อง “การศึกษาทัศนคติของคนในท้องถิ่นต่อพฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวต่างชาติ” ภายใต้แผนงานวิจัย เรื่อง “โครงการพัฒนาการอุตสาหกรรมท่องเที่ยวที่ยั่งยืนในภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง ปี 2551; ตลาดใหม่และความท้าทาย” สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
โครงการวิจัย เรื่อง “การประยุกต์แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน” งบประมาณแผ่นดิน
โครงการวิจัย เรื่อง “กลยุทธ์การแข่งขันด้านการท่องเที่ยวของไทยและประเทศในภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงภายใต้ภาวการณ์ขยายตัวของตลาดท่องเที่ยวจีน” งบประมาณแผ่นดิน
โครงการวิจัย เรื่อง “ผลกระทบจากการเป็นเมืองท่าของ อ.เชียงแสนและ อ.เชียงของ จังหวัดเชียงราย” งบประมาณแผ่นดิน
โครงการวิจัย เรื่อง “ความสัมพันธ์ระหว่างล้านนา ล้านช้าง; เปรียบเทียบประเพณี 12 เดือน งบประมาณแผ่นดิน
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยวมี่มีคุณภาพและเป็นมิตรกับชุมชนในเขตเมืองเก่าจังหวัดเชียงใหม่ สกอ.
โครงการ แนวทางพัฒนาศักยภาพและความพร้อมของผู้ประกอบการในการให้บริการการท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาวในจังหวัดเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โครงการ การพัฒนาศักยภาพทางการแข่งขันของการท่องเที่ยวชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่และลำพูนในการรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน งบประมาณแผ่นดิน
โครงการ การศึกษาและถอดองค์ความรู้การดำเนินงานอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมโดยภาคประชาชนในภาคเหนือตอนบน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โครงการวิจัย “ภูมิสังคมล้านนาในห้วง 10 ทศวรรษการพัฒนากับการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน” มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โครงการวิจัย เรื่อง “การจจัดการท่องเที่ยวชุมชนภายใต้แนวคดเศรษฐกิจพอเพียง ; กรณีศึกษาชุมชนประวัติศาสตร์ขุนตาน อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน งบประมาณแผ่นดิน