ปฏิบัติการไลน์แบ็กเกอร์ 2

ปฏิบัติการไลน์แบ็กเกอร์ 2 เป็นปฏิบัติการที่นำโดยกองทัพอากาศสหรัฐในการทิ้งระเบิดทั่วเมืองในเวียดนามเหนือเพื่อมีจุดประสงค์ให้เวียดนามเหนือยอมแพ้และทำข้อตกลงยุติสงคราม ปฏิบัติการครั้งนี้ถือว่าเป็นปฏิบัติการที่ใหญ่ที่สุดนับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 ปฏิบัติการดังกล่าวเริ่มต้นขึ้นเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 1972 รัฐบาลสหรัฐได้ตระหนักถึงปัญหาดีว่าเวียดนามเหนืออาจไม่หยุดในสงครามครั้งนี้จึงสั่งให้กองทัพอากาศใช้แผนการไลน์แบ็กเกอร์ที่เคยทำก่อนหน้านี้แต่มันล้มเหลว จนกระทั่งนายพลจอห์น ดับเบิลยู. โวกต์ จูเนียร์ ได้วางแผนว่าจะให้เครื่อง B-52 ทั้งหมด 54 ลำจากสนามบินอู่ตะเภาบินหลบเรดาร์แล้วทำการทิ้งระเบิดทั่วเมืองในเวียดนามเหนือรวมไปถึงเครื่องบิน B-52 จากกวมและโอกินาวะอีกจำนวนหนึ่ง เมื่อเวียดนามเหนือได้ทราบข่าวว่าสหรัฐจะทิ้งระเบิดทั่วเมืองจึงได้ติดตั้งขีปนาวุธ S-75 Dvina ที่สหภาพโซเวียตเคยมอบไว้ตามจุดต่าง ๆ ในเมืองปฏิบัติการดังกล่าวได้เริ่มต้นขึ้นในคืนวันที่ 18 ธันวาคม เครื่องบินทิ้งระเบิดสหรัฐทั้งหมด 207 ลำกับเครื่องบินขับไล่จำนวนมากกว่า 2000 ลำได้บินข้ามมายังเขตแดนของเวียดนามเหนือในคืนเดียวกันเวียดนามเหนือได้ระดมยิงขีปนาวุธ S-75 เป็นจำนวนมาก รวมไปถึงได้ส่งเครื่องบินรบ Mig-17 กับ Mig-21 ขึ้นประกบเครื่องบินรบสหรัฐส่งผลให้สหรัฐเสียเครื่องบินรบสหรัฐไป 12 ลำและเครื่องบินทิ้งระเบิด B-52 จำนวน 16 ลำ ปฏิบัติการครั้งนี้สร้างความเสียหายอย่างหนักให้กับฝ่ายเวียดนามเหนืออย่างมากจนทำให้เวียดนามเหนือยอมแพ้ในสงครามและทำข้อตกลงในกรุงปารีสในปี 1973

ปฏิบัติการไลน์แบ็กเกอร์ 2
ส่วนหนึ่งของ สงครามเวียดนาม

Boeing B-52 Stratofortress on bomb run
วันที่18–29 ธันวาคม 1972
สถานที่
ผล Inconclusive
คู่สงคราม
 สหรัฐ  เวียดนามเหนือ
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
John W. Vogt Jr.[1]
John C. Meyer[2]
Damon W. Cooper[3]
Phung The Tai[ต้องการอ้างอิง]
Le Van Tri[ต้องการอ้างอิง]
กำลัง
207 B-52s[ต้องการอ้างอิง]
2,000 tactical aircraft[ต้องการอ้างอิง]
14 SA-2 batteries[4]
(266 SA-2 missiles were launched during the operation[4])
100+ aircraft[2] (including 31 MiG-21s and 16 MiG-17s fighters[5])
AA gun units
ความสูญเสีย

U.S. claim:
12 tactical aircraft shot down
16 B-52s shot down
4 B-52s suffered heavy damage
5 B-52s suffered medium damage

43 killed in action
49 taken prisoner[6][ต้องการเลขหน้า]
PAVN claim:
81 aircraft shot down
(including 34 B-52s and 5 F-111s;[7] this includes two B-52s shot down by MiG-21 fighters[8])
U.S. claim: 6 MiG-21s shot down (including 2 MiG-21s shot down by B-52 tail gunners)[2]
PAVN claim: 3 MiG-21s shot down[9]
1,624 civilians killed[10]

อ้างอิง แก้

  1. Thompson, p. 257.
  2. 2.0 2.1 2.2 "Linebacker". Air Force Magazine. พฤศจิกายน 1997. สืบค้นเมื่อ 27 ธันวาคม 2015.
  3. Thompson, p. 257.
  4. 4.0 4.1 Drenkowski & Grau 2007, pp. 22
  5. Drenkowski & Grau 2007, pp. 26
  6. Dorr & Peacock 1995.
  7. Pribbenow, p. 327.
  8. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Thompson
  9. "Nga nói gì về cuộc đấu MiG-21 và F-4 ở Việt Nam (2)". Kien thuc. 27 ธันวาคม 2013. สืบค้นเมื่อ 27 ธันวาคม 2015.
  10. Morocco 1985, p. 150.