ทวีปมู เป็นชื่อของทวีปที่สาบสูญไปซึ่งมีแนวคิดมาจากนักเดินเรือในศตวรรษที่ 19 และนักเขียน Augustus Le Plongeon ซึ่งเป็นผู้ที่อ้างว่ามีอารยธรรมโบราณอย่างเช่น อารยธรรมอียิปต์, อารายธรรมเมโสอเมริกา ซึ่งคาดว่าผู้ลี้ภัยชาวมูมาตั้งรกรานอยู่ในบริเวณมหาสมุทรแอตแลนติก[1] แนวคิดนี้เริ่มมีการแพร่กระจายมากขึ้นหลังจากที่ James Churchward ผู้ที่อ้างว่าเขาเคยอาศัยในทวีปมูซึ่งตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก[2]

ภาพแผ่นที่ทวีปมูโดย James Churchward

การที่มีแนวคิดว่าทวีปมูมีอยู่เริ่มมี่ข้อโต้แย้งถึงความเป็นไปได้ตามเวลาของ Le Plongeon's นักวิทยาศาสตร์ในปัจจุบันถือว่าเป็นสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ที่จะมีทวีปมู (พร้อมกับกรณีอื่น เช่น เรื่องของทวีปลีมูเรีย) เนื่องจากโครงสร้างทางกายภาพและสิ่งต่าง ๆ ไม่สอดคล้องกัน เช่น ระยะเวลาในการล่มสลายไม่ว่าจะจมหรือการทำลายในช่วงเวลาสั้น ๆ[3][4] การมีของทวีปมูปัจจุบันยังไม่มีข้อเท็จจริงที่น่าเชื่อถือ[5][6]

อ้างอิง แก้

  1. Le Plongeon, Augustus (1896). Queen Móo & The Egyptian Sphinx. The Author. pp. 277 pages.
  2. Churchward, James (1931). The Lost Continent of Mu. New York: Ives Washburn. Re-published by Adventures Unlimited Press (2007)
  3. Haugton, Brian (2007). Hidden History. New Page Books. ISBN 978-1-56414-897-1.[ลิงก์เสีย] Page 60.
  4. De Camp, Lyon Sprague (1971) [1954]. Lost Continents: Atlantis Theme in History, Science and Literature. Dover Publications. ISBN 978-0-486-22668-2.
  5. Brennan, Louis A. (1959). No Stone Unturned: An Almanac of North American Pre-history. Random House. Page 228.
  6. Witzel, Michael (2006). Garrett G. Fagan Routledge (บ.ก.). Archaeological Fantasies. London: Routledge. ISBN 978-0-415-30593-8. Page 220.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้