ซะมันนูด (อาหรับ: سمنود Samannūd) เป็นเมือง (markaz) ตั้งอยู่ในเขตผู้ว่าการการ์เบีย ประเทศอียิปต์ ที่รู้จักกันในสมัยโบราณคลาสสิกว่า เซเบนนิโตส (กรีก: Σεβέννυτος) เมืองซะมันนูดเป็นเมืองในประวัติศาสตร์ที่มีผู้คนอาศัยอยู่ตั้งแต่สมัยอียิปต์โบราณ ในปี ค.ศ. 2019 ได้มีการสำรวจสำมะโนครัวประชากรของซะมันนูด โดยคาดว่ามีผู้ที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองจำนวน 83,417 คน และมีผู้ที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่ชนบทจำนวน 326,971คน รวมทั้งหมด 410,388 คน[4]

ซะมันนูด

سمنود

เซเบนนิโตส
ซะมันนูดตั้งอยู่ในประเทศอียิปต์
ซะมันนูด
ซะมันนูด
ที่ตั้งในอียิปต์
พิกัด: 30°58′00.0″N 31°15′00.0″E / 30.966667°N 31.250000°E / 30.966667; 31.250000
ประเทศ อียิปต์
เขตผู้ว่าการอัลฆ็อรบียะฮ์
พื้นที่[1]
 • ทั้งหมด57 ตร.ไมล์ (147 ตร.กม.)
ประชากร
 (2019 (โดยประมาณ))[1]
 • ทั้งหมด410,388 คน
เขตเวลาUTC+2 (EST)
nTrTbniwt
หรือ
nTrE9t
niwt
ṯb-nṯr[2][3]
สมัย: สมัยปลาย
(664–332 BC)
ไฮเออโรกลีฟอียิปต์

นิรุกติศาสตร์ แก้

ในอดีต เมืองซะมันนูดถูกเรียกว่า เซเบนนิโตส หรือ เซเบนนิตัส (อาหรับ: سمنود, อักษรโรมัน: Samannūd, คอปติก: ϫⲉⲙⲛⲟⲩϯ และ ϫⲉⲃⲉⲛⲟⲩⲧⲉ[5] หรือในคอปติกยุคปลาย: ⲥⲉⲃⲉⲛⲛⲏⲧⲟⲩ และ ⲥⲉⲃⲉⲛⲛⲉⲧⲟⲩ,[3] กรีก: Σεβέννυτος และ Σεβέννυς,[6][3] หรือ ἡ Σεβεννυτικὴ πόλις,[7] อียิปต์โบราณ: ṯb-(n)-nṯr)

ซะมันนูด ก็มาจากชื่อในภาษาอียิปต์โบราณ ṯb-(n)-nṯr ซึ่งแปลว่า "เมืองแห่งลูกวัวศักดิ์สิทธิ์"[8] ชื่อนี้น่าจะออกเสียงว่า */ˌcabˈnaːcar/ ในภาษาอียิปต์โบราณและ */ˌcəbˈnuːtə/ หรือ */ˌcəbənˈnuːtə/ ในภาษาอียิปต์ตอนปลาย[9]

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 "Samannūd (Markaz, Egypt)". Citypopulation.de. สืบค้นเมื่อ 20 June 2020.
  2. Wallis Budge, E. A. (1920). An Egyptian hieroglyphic dictionary: with an index of English words, king list and geological list with indexes, list of hieroglyphic characters, coptic and semitic alphabets, etc. Vol II. John Murray. p. 1059.
  3. 3.0 3.1 3.2 Gauthier, Henri (1929). Dictionnaire des Noms Géographiques Contenus dans les Textes Hiéroglyphiques Vol .6. p. 74.
  4. "Samannūd (Markaz, Egypt)". Citypopulation.de. Retrieved 20 June 2020.
  5. "أسماء بعض البلاد المصرية بالقبطية - كتاب لغتنا القبطية المصرية | St-Takla.org". st-takla.org.
  6. Ptolemy iv. 5. § 50, Stephanus of Byzantium
  7. Strabo xvii. p. 802
  8. Sterling, Gregory E. (1992). Historiography and Self-Definition: Josephos, Luke-Acts, and Apologetic Historiography. Brill Publishers. p. 118. ISBN 9004095012. สืบค้นเมื่อ 22 June 2020.
  9. Loprieno, Antonio (1995) Ancient Egyptian: A Linguistic Introduction, Cambridge: Cambridge University Press, ISBN 0-521-44384-9, p. 34