แนวร่วมปลดปล่อยประชาชนแห่งชาติกะเหรี่ยงแดง

แนวร่วมปลดปล่อยประชาชนแห่งชาติกะเหรี่ยงแดง (KNPLF หรือชื่อเต็มว่า Karenni National People's Liberation Front) (พม่า: ကရင်နီပြည်လူမျိုးပေါင်းစုံပြည်သူ့လွတ်မြောက်ရေးတပ်ဦး) เป็นกลุ่มก่อความไม่สงบที่มีอุดมการณ์คอมมิวนิสต์และอุดมการณ์ชาตินิยมกะเหรี่ยง ประจำการอยู่ที่รัฐกะยา ประเทศพม่า กลุ่ม KNPLF ได้ยินยอมที่จะเป็นกองกำลังรักษาชายแดนที่รัฐบาลสนับสนุนในวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 2009 อย่างไรก็ตาม KNPLF ยังไม่ถูกยุบในนาม KNPLF[9] เริ่มตั้งแต่วันที่ 13 มิถุนายน ค.ศ. 2023 กลุ่ม KNPLF ได้ตัดสินใจเปลี่ยนฝ่ายไปอยู่ฝ่ายของ กองทัพปลดปล่อยชาติกะเหรี่ยง (KNLA) และกองทัพกะเหรี่ยงแดง (KA) กองกำลังป้องกันชาติพันธุ์กะเหรี่ยง (KNDF) และกองกำลังพิทักษ์ประชาชนประเทศพม่า (PDF) และต่อสู้กับระบอบการปกครองทหาร

แนวร่วมปลดปล่อยประชาชนแห่งชาติกะเหรี่ยงแดง
ကရင်နီပြည်လူမျိုးပေါင်းစုံပြည်သူ့လွတ်မြောက်ရေးတပ်ဦး
ผู้นำU Tun Kyaw[1]
ปีที่ปฏิบัติการค.ศ. 1978 (1978)ค.ศ. 2009 (2009), ค.ศ. 2023–ปัจจุบัน (2023–ปัจจุบัน)
กองบัญชาการชุมชนปานกานเมืองลอยกอประเทศพม่า[2]
ภูมิภาคปฏิบัติการรัฐกะยา
ชายแดนพม่า–ไทย
แนวคิดลัทธิมากซ์–เลนิน[3]
กะเหรี่ยง ชาตินิยม
ระบอบสหพันธรัฐ
ขนาด2,000 (2021)[4]
พันธมิตรรัฐพันธมิตร:

รัฐที่ไม่ใช่พันธมิตร
แนวร่วม 4K:[5][6]

พันธมิตรอื่นๆ

ฝ่ายตรงข้ามรัฐฝ่ายตรงข้าม

รัฐที่ไม่ใช่ฝ่ายตรงข้าม

การต่อสู้และสงครามความขัดแย้งภายในพม่า

ประวัติ แก้

KNPLF ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1978 ในตอนที่กลุ่มการเมืองฝ่ายซ้ายแยกตัวออกจากกองทัพกะเหรี่ยงแดง (KA) เนื่องจากมีอุดมการณ์ไม่เหมือนกัน กลุ่ม KNPLF รักษาความสัมพันธ์อันใกล้ชิดกับพรรคคอมมิวนิสต์พม่า (CPB) ได้รับการฝึกและเสบียงและการสนับสนุนการอาวุธจากกลุ่มจนกระทั่งลดอาวุธลงในปี ค.ศ. 1989[10]

ในปี ค.ศ. 1989 มีการเจรจาข้อตกลงให้หยุดยิงระหว่าง สภาสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ (SLORC) กับ KNPLF ซึ่งสรุปแล้วในปี ค.ศ. 1994[11] ตั้งแต่นั้นมากลุ่ม KNPLF ได้ช่วยเหลือทหารของรัฐบาลในการต่อสู้กับกลุ่มกองกำลังอาวุธกลุ่มอื่นๆ นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา กลุ่มนี้ได้ช่วยทหารรัฐบาลต่อสู้กับกลุ่มติดอาวุธอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกองทัพกะเหรี่ยงแดง (KA) และในวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 2009 กลุ่มนี้ตกลงที่จะเปลี่ยนผ่านเป็น "กองกำลังรักษาชายแดน"[12]

KNPLF เคยถูกกล่าวหาว่าใช้ทหารเด็กและกับระเบิดในอดีต[13]กับเด็กที่ชื่อว่า Koo Reh ตอนอายุ 13 ปีว่า

เหตุการณ์ล่าสุด แก้

ทหารของ KNPLF และ BGF ถูกฆาตกรรมประมาณ 45 คนในช่วงการสังหารหมู่ Mo So โดยกองทัพพม่าในวันคริสต์มาสอีฟของปี ค.ศ. 2021 บุคลากรของ KNPLF และ BGF พยายามที่จะหยุดกองทัพพม่าจากการเผาประชาชนทั้งเป็นแทนที่จะยิงประชาชนตรงศีรษะ [15][16][17]

KNPLF ก็ได้รับอาวุธจากกองทัพรวมแห่งรัฐว้า (UWSA) หลังการรัฐประหารในประเทศเมียนมาร์ในปี ค.ศ. 2021 และก็ถูกกล่าวหาว่ามีส่วนร่วมในการต่อต้านกองทัพพม่า แม้จะเปลี่ยนผ่านเป็นกองกำลังพิทักษ์ชายแดน[18]ก็ตาม ชิต ตุน สมาชิกระดับสูงของ KNPLF ถูกแต่งตั้งให้เป็นหนึ่งในสองรองรัฐมนตรีด้านการสหพันธสหภาพ ในรัฐบาลเอกภาพแห่งชาติพม่า (NUG) ซึ่งเป็นรัฐบาลคู่ขนานที่ก่อตั้งโดยผู้ร่างกฎหมายที่ได้รับเลือกและสมาชิกรัฐสภาที่ถูกโค่นล้มในการรัฐประหาร KNPLF ประกาศว่าจะสนับสนุน NUG และสมาชิกระดับล่างของ KNPLF ต่อสู้เคียงข้าง KNDF เพื่อต่อต้านกองทัพพม่า[19][20]

ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2023 KNPLF ได้ทำการย้ายฝ่ายไปกองกำลังต่อต้านรัฐบาลทหารและสนับสนุนกแองทัพปลดปล่อยชาติกะเหรี่ยง (KNLA) และกองทัพกะเหรี่ยงแดง (KA) กองกำลังป้องกันชาติพันธุ์กะเหรี่ยง (KNDF) และกองกำลังพิทักษ์ประชาชนประเทศพม่า (PDF) และได้ปฎิบัติการเริ่มโจมตีที่มั่นของกองทัพพม่า[21] กองกำลังต่อต้านที่รวมกันเข้ายึดด่านหน้าของรัฐบาลทหารและเข้ายึดเมืองเมเซ ในรัฐกะยาทางทิศตะวันออก[22]

อ้างอิง แก้

  1. "KNPLF Says No Fake Peace". BNI (ภาษาEnglish). 6 March 2020. สืบค้นเมื่อ 29 June 2023.{{cite news}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  2. "KNPLF celebrates 25 years of ceasefire in Loikaw". Ministry Of Information (ภาษาอังกฤษ). Myanmar Ministry of Information. สืบค้นเมื่อ 11 May 2020.
  3. Beng, Ooi Kee (2014). ISEAS Perspective: Selections 2012–2013 (ภาษาอังกฤษ). Institute of Southeast Asian Studies. p. 107. ISBN 978-981-4519-26-7. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 September 2022. สืบค้นเมื่อ 11 May 2020.
  4. Khin, Aung; Aung, Nyan Lin (9 December 2021). "ကရင်နီကာကွယ်ရေးတပ်ဖွဲ့". Voice of America (ภาษาBurmese). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 July 2022. สืบค้นเมื่อ 3 July 2022.{{cite news}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  5. "Intense clash in Mese, Karenni State". Democratic Voice of Burma (ภาษาBurmese). 20 June 2023.{{cite news}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  6. "The 4K, the clash in Mese, and the military movement of Karenni State". People's Spring (ภาษาBurmese). 20 June 2023.{{cite news}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  7. Davis, Anthony (2022-02-22). "Wa an early winner of Myanmar's post-coup war". Asia Times (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 7, 2022. สืบค้นเมื่อ 2022-09-24.
  8. J, Esther (10 November 2023). "After attacking military target in Karenni State, KNDF and KNPLF announce launch of 'Operation 1107'". Myanmar Now. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 10, 2023. สืบค้นเมื่อ 10 November 2023.
  9. "Karenni National People's Liberation Front". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 May 2017. สืบค้นเมื่อ 27 February 2016.
  10. "Karenni National People's Liberation Front". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 May 2017. สืบค้นเมื่อ 27 February 2016.
  11. "Karenni National People's Liberation Front". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 May 2017. สืบค้นเมื่อ 27 February 2016.
  12. Murray, Lucy; Byardu, Beh Reh (25 March 2005). "Karenni rebels dig in for last stand". Asia Times. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 March 2005. สืบค้นเมื่อ 29 November 2018.{{cite news}}: CS1 maint: unfit URL (ลิงก์)
  13. "Geneva Call – Karenni National Peoples Liberation Front (KNPLF)". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 March 2016. สืบค้นเมื่อ 27 February 2016.
  14. "Sold to be Soldiers: The Recruitment and Use of Child Soldiers in Burma: VI. Child Soldiers in Non-State Armed Groups". www.hrw.org. Human Rights Watch. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 May 2017. สืบค้นเมื่อ 29 November 2018.
  15. J, Esther (25 December 2021). "ဖရူဆိုတွင် အစုအပြုံလိုက် မီးရှို့ခံထားရသည့်ထဲတွင် ကလေးငယ်ပင်ပါဝင်". Myanmar Now (ภาษาBurmese). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 July 2022. สืบค้นเมื่อ 3 July 2022.{{cite news}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  16. J, Esther (7 January 2022). "စစ်ကောင်စီ ဖုံးသမျှပေါ်နေသည့် ယာဉ်နှင့်လူများ မီးပုံရှို့မှု". Myanmar Now (ภาษาBurmese). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 July 2022. สืบค้นเมื่อ 3 July 2022.{{cite news}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  17. Phoe Khwar, Saw (1 March 2022). "မိုဆိုရွာ သတ်ဖြတ်မှု စစ်တပ်လက်ချက်လို့ NUG အထောက်အထားတွေ ထုတ်ပြန်". Radio Free Asia (ภาษาBurmese). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 July 2022. สืบค้นเมื่อ 3 July 2022.{{cite news}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  18. Davis, Anthony (22 February 2022). "Wa an early winner of Myanmar's post-coup war". Asia Times. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 June 2022. สืบค้นเมื่อ 3 July 2022.
  19. "NUG နဲ့ အတူ ဘယ်သူတွေ ရပ်တည်နေကြသလဲ". The Irrawaddy (ภาษาBurmese). 25 April 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 July 2022. สืบค้นเมื่อ 3 July 2022.{{cite news}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  20. "Kayah State Resistance Groups Reject Ceasefire with Myanmar Junta". The Irrawaddy. 17 June 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 July 2022. สืบค้นเมื่อ 3 July 2022.
  21. J, Esther (23 June 2023). "Karenni BGF battalions confirm role in recent raids on junta outposts". Myanmar Now (ภาษาEnglish). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 27, 2023. สืบค้นเมื่อ 28 June 2023.{{cite news}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  22. "Myanmar Junta Outposts Fall to Karenni Resistance in Kayah State". The Irrawaddy (ภาษาEnglish). 26 June 2023. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 22, 2024. สืบค้นเมื่อ 28 June 2023.{{cite news}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)