กองทัพพม่า หรือในชื่อภาษาพม่า ตะมะดอ (พม่า: တပ်မတော်, เอ็มแอลซีทีเอส: tap ma. taw, สัทอักษรสากล: [taʔmədɔ̀]) เป็นองค์กรทางการทหารของประเทศพม่า มีหน้าที่ป้องกันประเทศและรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ กองทัพพม่าดำเนินการโดยกระทรวงกลาโหมโดยมีสาขากองทัพคือ กองทัพบก กองทัพเรือและกองทัพอากาศ และมีกองกำลังเสริมของกองทัพคือ ตำรวจ อาสาสมัครพลเรือน และกองกำลังชายแดนซึ่งรู้จักกันในชื่อว่า "นาซาคา" (Na Sa Kha)

กองทัพพม่า
(ตะมะดอ)
တပ်မတော်  (พม่า)
(แปลว่า กองทัพหลวงแห่งพม่า)
ธงกองทัพพม่า
ตราสัญลักษณ์หน่วยบริการกองทัพพม่า(ซ้ายไปขวา): กองทัพบก, กองทัพเรือ & กองทัพอากาศ[1]
ก่อตั้ง27 มีนาคม 1945 (79 ปีก่อน) (1945-03-27)[2]
เหล่า
กองบัญชาการเนปยีดอ, พม่า
เว็บไซต์
ผู้บังคับบัญชา
ผู้บัญชาการทหารสูงสุดพลเอกอาวุโส มี่นอองไลง์
รองผู้บัญชาการทหารสูงสุดรองพลเอกอาวุโส โซ่ วี่น
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมพลเรือเอก ติน อองซาน
เสนาธิการร่วมพลเอก หม่อง หม่อง เอ[3]
กำลังพล
อายุเริ่มบรรจุ18 ปี
ประชากร
วัยบรรจุ
14,747,845 ชาย, อายุ 15–49 (2010 est.),
14,710,871 หญิง, อายุ 15–49 (2010 est.)
ประชากร
ฉกรรจ์
10,451,515 ชาย, อายุ 15–49 (2010 est.),
11,181,537 หญิง, อายุ 15–49 (2010 est.)
ประชากรวัยถึงขั้น
ประจำการทุกปี
522,478 ชาย (2010 est.),
506,388 หญิง (2010 est.)
ยอดประจำการ356,000+[4]
ยอดสำรอง18,998
รายจ่าย
งบประมาณ2.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[5] (2014)
ร้อยละต่อจีดีพี4% (2014)
อุตสาหกรรม
แหล่งผลิตในประเทศ
แหล่งผลิตนอกประเทศ จีน[7]
 อินเดีย[7]
 อิสราเอล[7][8]
 เกาหลีเหนือ[7]
 ฟิลิปปินส์[7]
 รัสเซีย[7]
 ยูเครน[7]
บทความที่เกี่ยวข้อง
ยศยศทหารพม่า
ที่นั่งรัฐสภา
တပ်မတော်သား လွှတ်တော်ကိုယ်စားလှယ်များ (พม่า)
ที่นั่งในสภาชาติพันธุ์
56 / 224
ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรพม่า
110 / 440

งบประมาณ แก้

กองทัพพม่าได้รับงบประมาณร้อยละ 13 ถึง 14 ของงบประมาณแผ่นดิน[9] และตามกฎหมายเงินทุนพิเศษปี 2011 อนุญาตให้กองทัพสามารถจัดหางบพิเศษได้โดยไม่ต้องผ่านการตรวจสอบของรัฐสภา[10]

นอกจากนี้ กองทัพยังมีรายได้มหาศาลจากบริษัทขนาดใหญ่สองบริษัท คือ เมียนมาอีโคโนมิกโฮลดิงส์ จำกัด และบรรษัทเศรษฐกิจเมียนมาร์[11]

อ้างอิง แก้

  1. "CINCDS Myanmar". Cincds.gov.mm. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 June 2022. สืบค้นเมื่อ 2022-08-03.
  2. Armed Forces Day (Myanmar)
  3. "Protégé of Myanmar Junta Boss Tipped to be His Successor as Military Chief". The Irrawaddy. 17 March 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 February 2023. สืบค้นเมื่อ 7 February 2023.
  4. International Institute for Strategic Studies (15 February 2023). The Military Balance 2023. London: Routledge. p. 275. ISBN 9781032508955.
  5. "Myanmar declares USD2.4 billion defence budget for 2014". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 October 2014. สืบค้นเมื่อ 29 November 2014.
  6. "Myanmar shipyard building 4th frigate". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 August 2021. สืบค้นเมื่อ 1 August 2021.
  7. 7.0 7.1 7.2 7.3 7.4 7.5 7.6 "7 countries still supplying arms to Myanmar military". Anadolu Agency. 5 August 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 February 2021. สืบค้นเมื่อ 8 February 2021.
  8. "Israel among 7 nations faulted in UN report for arming Myanmar army". Times of Israel. 5 August 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 February 2021. สืบค้นเมื่อ 8 February 2021.
  9. "Analysis | Tracking the Myanmar Govt's Income Sources and Spending". The Irrawaddy (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2019-10-22. สืบค้นเมื่อ 2020-06-07.
  10. House, Freedom (2017-01-01). "Freedom in the World 2017 – Myanmar". Freedom House (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-06-07.
  11. "Economic interests of the Myanmar military". United Nations Human Rights Council. 2019-09-16. สืบค้นเมื่อ 2020-06-07.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้