อากาศยานในราชการไทย

อากาศยานทั้งเครื่องบินและเฮลิคอปเตอร์ที่อยู่ในสังกัดของหน่วยงานราชการ มีอยู่ประมาณ 1,000 ลำ[1] ใช้ในราชการต่างๆ ของประเทศ โดยได้รับการยกเว้นไม่ต้องบังคับใช้พระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 มาตรา 5 คืออากาศยานในราชการทหาร ตำรวจ ราชการศุลกากร และราชการอื่นตามที่ระบุในกฎกระทรวง ซึ่งกฎกระทรวงในปี พ.ศ. 2547 ระบุว่านอกจากทหารและตำรวจแล้ว อากาศยานราชการอื่นประกอบไปด้วย กรมศุลกากร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม[2]

เฮลิคอปเตอร์สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

สำหรับอากาศยานของหน่วยงานราชการไทย แบ่งตามหน่วยงานต้นสังกัด มีจำนวนดังนี้[a]

กระทรวงกลาโหม แก้

กระทรวงกลาโหมประกอบด้วยอากาศยานจาก 3 เหล่าทัพ คือกองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ ประกอบไปด้วย

กองทัพบก แก้

กองทัพบก อากาศยานในสังกัดจะอยู่ภายใต้ความดูแลของศูนย์การบินทหารบก

ผู้ผลิต แบบอากาศยาน ประเทศ จำนวน สังกัดหน่วยงาน
Bell Helicopter Textron Bell UH-1 Iroquois   สหรัฐ 92 กองทัพบก
Bell Helicopter Textron Bell 212   สหรัฐ 60 กองทัพบก
Sikorsky Aircraft Sikorsky S-300   เยอรมนี 45 กองทัพบก
Israel Aircraft Industries IAI Searcher   อิสราเอล 32 กองทัพบก
Cessna Aircraft Company Cessna T-41B   สหรัฐ 30 กองทัพบก
Bell Helicopter Textron Bell 206   สหรัฐ 25 กองทัพบก
Cessna Aircraft Company Cessna U-17B   สหรัฐ 20 กองทัพบก
Maule Air Maule MX-7   สหรัฐ 15 กองทัพบก
Boeing Boeing CH-47 Chinook   สหรัฐ 13 กองทัพบก
Sikorsky Aircraft Sikorsky UH-60 Black Hawk   สหรัฐ 15 กองทัพบก
Bell Helicopter Textron Bell AH-1 Cobra   สหรัฐ 4 กองทัพบก
Mil Moscow Helicopter Plant Mil Mi-17   รัสเซีย 10 กองทัพบก
Beechcraft Beech 1900C-1   สหรัฐ 2 กองทัพบก
EADS CASA Casa 212-300   สเปน 2 กองทัพบก
Embraer Embraer ERJ-135   บราซิล 2 กองทัพบก
British Aerospace Jetstream 41   เยอรมนี 2 กองทัพบก
Beechcraft Super King Air 200   สหรัฐ 2 กองทัพบก

กองทัพเรือ แก้

กองทัพเรือ อากาศยานจะอยู่ภายใต้การดูแลของกองการบินทหารเรือ กองเรือยุทธการ[3]

ผู้ผลิต แบบอากาศยาน ประเทศ จำนวน สังกัดหน่วยงาน
Vought Aircraft Industries A-7E Corsair II   สหรัฐ 14 กองทัพเรือ
Cessna Aircraft Company T337H-SP/T337G   สหรัฐ 14 กองทัพเรือ
Bell Helicopter Textron Bell 212   สหรัฐ 8 กองทัพเรือ
McDonald Douglas AV-8S Harrier   สหรัฐ 7 กองทัพเรือ
Bell Helicopter Textron Bell 214ST   สหรัฐ 7 กองทัพเรือ
RUAG Aerospace Services Do-228-212   เยอรมนี 7 กองทัพเรือ
Sikorsky Aircraft S-70B-7 Seahawk   สหรัฐ 6 กองทัพเรือ
Sikorsky Aircraft S-76B   สหรัฐ 6 กองทัพเรือ
Australian Government Aircraft Factory (GAF) N-24A Nomad   ออสเตรเลีย 5 กองทัพเรือ
Fokker Aerospace Group F-27 Mk.200 Maritime (Armed)   เนเธอร์แลนด์ 4 กองทัพเรือ
Vought Aircraft Industries TA-7C Corsair II   สหรัฐ 4 กองทัพเรือ
Sikorsky Aircraft MH-60S   สหรัฐ 2 กองทัพเรือ
Bombardier Aerospace CL-215   แคนาดา 2 กองทัพเรือ
Fokker Aerospace Group F-27 Mk.400 Troopship   เนเธอร์แลนด์ 2 กองทัพเรือ
Lockheed Martin P-3T (P-3A TACNAVMOD II) Orion   สหรัฐ 2 กองทัพเรือ
Agusta Westland Super Lynx 300   สหราชอาณาจักร 2 กองทัพเรือ
McDonald Douglas TAV-8S Harrier   สหรัฐ 2 กองทัพเรือ
Embraer ERJ-135LR   บราซิล 1 กองทัพเรือ
Lockheed Martin UP-3T Orion   สหรัฐ 1 กองทัพเรือ

กองทัพอากาศ แก้

กองทัพอากาศ เป็นเหล่าทัพหลักในการป้องกันภัยทางอากาศของประเทศไทย

ผู้ผลิต แบบอากาศยาน ประเทศ จำนวน สังกัดหน่วยงาน
Northrop F-5A/B/E/F   สหรัฐ 90 กองทัพอากาศ
Lockheed Martin F-16A/B block15 OCU   สหรัฐ 42 กองทัพอากาศ
Aero L-39ZA/ART Albatros   เช็กเกีย 37 กองทัพอากาศ
Pilatus Aircraft PC-9   สวิตเซอร์แลนด์ 23 กองทัพอากาศ
Fairchild AU-23A Peacemaker   สหรัฐ 17 กองทัพอากาศ
Bell Helicopter Textron Bell UH-1 Iroquois   สหรัฐ 20 กองทัพอากาศ
Pacific Aerospace PAC CT/4   นิวซีแลนด์ 20 กองทัพอากาศ
RUAG Aerospace Services Alpha Jet   เยอรมนี 19 กองทัพอากาศ
GAF Nomad   ออสเตรเลีย 19 กองทัพอากาศ
Lockheed Martin F-16A/B block15 ADF   สหรัฐ 16 กองทัพอากาศ
Lockheed Martin C-130   สหรัฐ 12 กองทัพอากาศ
Saab JAS-39C/D Gripen   สวีเดน 12 กองทัพอากาศ
Bell Helicopter Textron Bell 412/HP/EP   สหรัฐ 11 กองทัพอากาศ
Basler Turbo Conversions BT-67   สหรัฐ 8 กองทัพอากาศ
Diamond Aircraft Industries DA42 Twin Star   ออสเตรีย 6 กองทัพอากาศ
Cessna Aircraft Company T-41   สหรัฐ 6 กองทัพอากาศ
ATR ATR-72-500   สหภาพยุโรป 4 กองทัพอากาศ
Avro HS-748   สหราชอาณาจักร 4 กองทัพอากาศ
Alenia G.222   อิตาลี 3 กองทัพอากาศ
Israel Aircraft Industries IAI Arava   อิสราเอล 3 กองทัพอากาศ
Sikorsky Aircraft Sikorsky S-92   สหรัฐ 3 กองทัพอากาศ
Lear Jet Learjet 35A   สหรัฐ 2 กองทัพอากาศ
Saab Saab 340AEW   สวีเดน 2 กองทัพอากาศ
Boeing 737-4Z6   สหรัฐ 1 กองทัพอากาศ
Boeing 737-8Z6 BBJ   สหรัฐ 1 กองทัพอากาศ
Airbus A310-324   สหภาพยุโรป 1 กองทัพอากาศ
Airbus A319-115X CJ   สหภาพยุโรป 1 กองทัพอากาศ
Saab Saab 340B   สวีเดน 1 กองทัพอากาศ
Royal Thai Air Force บ.ชอ.2   ไทย 1 กองทัพอากาศ

สำนักงานตำรวจแห่งชาติ แก้

อากาศยานของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ อยู่ในสังกัดของกองบินตำรวจ ประกอบไปด้วย

ผู้ผลิต แบบอากาศยาน ประเทศ จำนวน สังกัดหน่วยงาน
Bell Helicopter Textron Bell 205 A/A - 1   สหรัฐ 26 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
Bell 212   สหรัฐ 15 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
Bell 206 B   สหรัฐ 14 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
Bell 412   สหรัฐ 9 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
Helicopter EC 155 B - 1   สหรัฐ 9 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
Pilatus Aircraft PC-6 Porter   สหรัฐ 6 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
Short Brothers Short SC.7 Skyvan   สหรัฐ 3 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
Bell Helicopter Textron Helicopter Bell Model 206 L-1   สหรัฐ 2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
Short Brothers Short 330   สหราชอาณาจักร 2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
EADS CASA Casa Model CN - 235 - 200 M   สเปน 1 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
Fokker FOKKER-50   เนเธอร์แลนด์ 1 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ

กระทรวงมหาดไทย แก้

กระทรวงมหาดไทย มีอากาศยานสำหรับภารกิจป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในส่วนของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) โดยร่วมกับกองทัพบกในการปฏิบัติการบินและดูแลรักษาอากาศยาน[4][5]

ผู้ผลิต แบบอากาศยาน ประเทศ จำนวน สังกัดหน่วยงาน
Kamov Ka-32   รัสเซีย 4 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แก้

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีอากาศยานสำหรับปฏิบัติการฝนหลวง และสนับสนุนการตรวจราชการรวมถึงภารกิจของส่วนราชการในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อยู่ภายใต้การดูแลของกรมฝนหลวงและการบินเกษตร ประกอบไปด้วย[6][7]

ผู้ผลิต แบบอากาศยาน ประเทศ จำนวน สังกัดหน่วยงาน
Pilatus Aircraft (Porter) PC-6 / B2H2   สวิตเซอร์แลนด์ 3 กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
Beechcraft Super King Air 350   สหรัฐ 3
Construcciones Aeronáuticas SA (CASA) CN 235-200   ยุโรป 2
C212 / NC212i 15
Cessna Aircraft Cessna208 / 208B   สหรัฐ 12
Bell helicopter Bell412(Epi)   สหรัฐ 1
Bell407 / 407GX 3
Bell206B 3
Eurocopter AS350(B2)   ยุโรป 1

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แก้

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีอากาศยานประจำการอยู่ภายใต้กองการบิน สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วยอากาศยานทั้งเฮลิคอปเตอร์และเครื่องบินในการสนับสนุนหน่วยงานในสังกัด[8]

ผู้ผลิต แบบอากาศยาน ประเทศ จำนวน สังกัดหน่วยงาน
Eurocopter AS350   ยุโรป 10 สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
EC135 1
Quest Kodiak 100   สหรัฐ 1

หมายเหตุ แก้

  1. ตัวเลขที่แสดงจำนวนต่างๆ ที่ปรากฏในบทความนี้เป็นยอดที่สรุปมาจากการสั่งซื้อ ไม่ใช่จำนวนที่กำลังใช้อยู่จริงในปัจจุบัน (อากาศยานบางลำอาจชำรุด ปลดระวางหรือประสบอุบัติเหตุไปแล้ว)

อ้างอิง แก้

  1. "เครื่องบินเฮลิคอปเตอร์ที่ใช้ในการทหารของไทย | ประวัติเครื่องบิน เครื่องบินรบ และ เทคโนโลยีทางอากาศประเภทต่างๆ" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-01-23. สืบค้นเมื่อ 2022-07-01.
  2. ตันชาลี ตะวัน, and พิพุธวัฒน์ สมชาย. 2015. “การตีความอากาศยานราชการตามกฎหมายว่าด้วยการเดินอากาศ”. CONNEXION Journal of Humanities and Social Sciences 4 (2):1-23. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/MFUconnexion/article/view/241371.
  3. "Royal Thai Navy - Detail Main". www.navy.mi.th.
  4. naichangmashare (2021-07-16). "Kamov Ka-32 เฮริคอปเตอร์กู้ภัยที่โรงงานผลิตโฟมที่เกิดเหตุไฟไหม้". นายช่างมาแชร์.
  5. DEFNET (2021-08-25). "ปภ. รับมอบ เฮลิคอปเตอร์ KA-32 เพิ่มอีก 2 ลำ". DEFNET. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-05-21. สืบค้นเมื่อ 2022-07-01.
  6. อากาศยาน "กรมฝนหลวงและการบินเกษตร". www.royalrain.go.th.
  7. "กรมฝนหลวงและการบินเกษตร". www.royalrain.go.th.
  8. รายงานประจำปี (Annual Report) กองการบิน - กองการบิน เก็บถาวร 2022-06-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (mnre.go.th)

ข้อมูลเพิ่มเติม แก้