สุริยุปราคา 6 มกราคม พ.ศ. 2562

สุริยุปราคาบางส่วนเกิดขึ้นในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2562 สุริยุปราคาเกิดขึ้นเมื่อดวงจันทร์ โคจรผ่านระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ โดยวิธีนั้นจะเห็นสุริยุปราคาแบบเต็มดวงและแบบบางส่วนเมื่อมองจากโลก สุริยุปราคาบางส่วนเกิดขึ้นในภูมิภาคขั้วโลก เมื่อศูนย์กลางเงาของดวงจันทร์นั้นพลาดหรือไม่ได้ทอดลงมาบนโลก

สุริยุปราคา 6 มกราคม พ.ศ. 2562
สุริยุปราคาบางส่วนจากประเทศรัสเซีย
แผนที่
ประเภท
ประเภทบางส่วน
แกมมา1.1417
ความส่องสว่าง0.7145
บดบังมากที่สุด
พิกัด67°24′N 153°36′E / 67.4°N 153.6°E / 67.4; 153.6
เวลา (UTC)
(P1) เริ่มอุปราคาบางส่วน23:34:01
บดบังมากที่สุด01:41:21
(P4) สิ้นสุดอุปราคาบางส่วน03:48:44
แหล่งอ้างอิง
แซรอส122 (58 จาก 70)
บัญชี # (SE5000)9550

ภาพ แก้

 
ภาพเคลื่อนไหวแนวเส้นทาง

อุปราคาที่เกี่ยวข้อง แก้

สุริยุปราคา พ.ศ. 2561–2564 แก้

อุปราคานี้เป็นสมาชิกของชุดเทอม โดยอุปราคาในชุดเทอมของสุริยุปราคาจะวนซ้ำโดยประมาณทุก ๆ 177 วัน 4 ชั่วโมง (เทอม) ที่การสลับโหนดของวงโคจรดวงจันทร์[1]

หมายเหตุ: สุริยุปราคาบางส่วนในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2561 และ 11 สิงหาคม 2561 เกิดขึ้นระหว่างชุดเทอมก่อนหน้า

อ้างอิง แก้

  1. van Gent, R.H. "Solar- and Lunar-Eclipse Predictions from Antiquity to the Present". A Catalogue of Eclipse Cycles. Utrecht University. สืบค้นเมื่อ 6 October 2018.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้

สุริยุปราคา
สุริยุปราคาครั้งก่อนหน้า:
11 สิงหาคม 2561
(  สุริยุปราคาบางส่วน)
  สุริยุปราคา 6 มกราคม พ.ศ. 2562   สุริยุปราคาครั้งถัดไป:
2 กรกฎาคม 2562
(  สุริยุปราคาเต็มดวง)
สุริยุปราคาบางส่วนครั้งก่อนหน้า:
11 สิงหาคม 2561
 
สุริยุปราคาบางส่วน
สุริยุปราคาบางส่วนครั้งถัดไป:
30 เมษายน 2565