สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดภูเก็ต

จังหวัดภูเก็ต มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 3 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 3 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์ แก้

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดภูเก็ตมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ พระพิไสยสุนทรการ (แปลง ณ ถลาง)[2]

เขตเลือกตั้ง แก้

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองภูเก็ต (ยกเว้นตำบลรัษฎาและตำบลเกาะแก้ว)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกะทู้, อำเภอถลาง และอำเภอเมืองภูเก็ต (เฉพาะตำบลรัษฎาและตำบลเกาะแก้ว)
2 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองภูเก็ต (ยกเว้นตำบลรัษฎาและตำบลเกาะแก้ว)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกะทู้, อำเภอถลาง และอำเภอเมืองภูเก็ต (เฉพาะตำบลรัษฎาและตำบลเกาะแก้ว)
2 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองภูเก็ต (ยกเว้นตำบลเกาะแก้ว ตำบลราไวย์ และตำบลกะรน)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกะทู้, อำเภอถลาง และอำเภอเมืองภูเก็ต (เฉพาะตำบลเกาะแก้ว ตำบลราไวย์ และตำบลกะรน)
  2 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองภูเก็ต (เฉพาะตำบลเกาะแก้ว ตำบลรัษฎา ตำบลตลาดใหญ่ และตำบลตลาดเหนือ)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองภูเก็ต (เฉพาะตำบลวิชิต ตำบลฉลอง ตำบลราไวย์ และตำบลกะรน) และอำเภอกะทู้ (ยกเว้นตำบลกะทู้)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอถลางและอำเภอกะทู้ (เฉพาะตำบลกะทู้)
  3 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต แก้

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495 แก้

      พรรคสหชีพ
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 พระพิไสยสุนทรการ (แปลง ณ ถลาง)
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 ขุนชินสถานพิทักษ์ (ตันยู่อี๋ ตันทวณิช)
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 นายชิต เวชประสิทธิ์
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 นายชิต เวชประสิทธิ์
สิงหาคม พ.ศ. 2489 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 ขุนประเทศจีนนิกร
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 นางแร่ม พรหโมบล บุณยประสพ

ชุดที่ 8–20; พ.ศ. 2500–2539 แก้

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพลังใหม่
      พรรคชาติไทย
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายสตางค์ พุทธรักษา
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 นางแร่ม พรหโมบล บุณยประสพ
ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 นายชิต เวชประสิทธิ์
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 นายอมรศักดิ์ องค์สรณะคม
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 นายเอี่ยมศักดิ์ หลิมสมบูรณ์
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 นายจรูญ เสรีถวัลย์
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นายเรวุฒิ จินดาพล
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายเรวุฒิ จินดาพล
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 นายเรวุฒิ จินดาพล
(พ้นสมาชิกภาพ/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 นางอัญชลี เทพบุตร
ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538
ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548 แก้

      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายสุวิทย์ เสงี่ยมกุล
2 นางสาวเฉลิมลักษณ์ เก็บทรัพย์

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550 แก้

      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายเรวัต อารีรอบ
นายทศพร เทพบุตร

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566 แก้

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพลังประชารัฐ
      พรรคก้าวไกล
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2 เขตเลือกตั้งที่ 3
ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 นางอัญชลี เทพบุตร นายเรวัต อารีรอบ -
ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 นายสุทา ประทีป ณ ถลาง นายนัทธี ถิ่นสาคู
ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 ว่าที่ร้อยตรี สมชาติ เตชถาวรเจริญ นายเฉลิมพงศ์ เเสงดี นายฐิติกันต์ ฐิติพฤฒิกุล

รูปภาพ แก้

อ้างอิง แก้

  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก

แหล่งข้อมูลอื่น แก้