ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2530

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2530 เป็นฤดูกาลที่ไม่การกำหนดขอบเขตอย่างเป็นทางการ โดยดำเนินอยู่ภายในปี พ.ศ. 2530 แต่พายุหมุนเขตร้อนส่วนใหญ่มีแนวโน้มก่อตัวขึ้นภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ ระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนพฤศจิกายน[1] วันเหล่านี้ถือเป็นธรรมเนียมในการกำหนดขอบเขตของแต่ละฤดูกาล เมื่อพายุหมุนเขตร้อนก่อตัวขึ้นภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2530
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว7 มกราคม พ.ศ. 2530
ระบบสุดท้ายสลายตัว20 ธันวาคม พ.ศ. 2530
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อเบตตี้
 • ลมแรงสูงสุด205 กม./ชม. (125 ไมล์/ชม.)
(เฉลี่ย 10 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด870 hPa (มิลลิบาร์)
สถิติฤดูกาล
พายุดีเปรสชันทั้งหมด32 ลูก
พายุโซนร้อนทั้งหมด23 ลูก
พายุไต้ฝุ่น17 ลูก
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น6 ลูก (ไม่เป็นทางการ)
ผู้เสียชีวิตทั้งหมดทั้งหมด 1,402 คน
ความเสียหายทั้งหมด1.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
(ค่าเงิน USD ปี 1987)
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก
2528, 2529, 2530, 2531, 2532

ขอบเขตของบทความนี้จำกัดเฉพาะบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร ทางฝั่งตะวันตกของเส้นแบ่งเขตวันสากล ส่วนพายุใดที่ก่อตัวขึ้นทางฝั่งตะวันออกของเส้นดังกล่าวจะเรียกว่า พายุเฮอร์ริเคน (ดูที่ ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2530) ในช่วงเวลานี้ พายุใดที่ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อนในมหาสมุทรตะวันตกจะได้รับชื่อจากศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม ส่วนพายุดีเปรสชันเขตร้อนใดที่ก่อตัวขึ้นในแอ่งนี้จะได้รับการกำหนดหมายเลขและเติมตัวอักษร "W" ต่อท้ายเป็นรหัสเรียก ส่วนพายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกใดที่ก่อตัวขึ้นหรือเคลื่อนตัวเข้าไปภายในพื้นที่รับผิดชอบของฟิลิปปินส์ พายุลูกนั้นจะได้รับชื่อจากสำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ หรือ PAGASA ด้วย ด้วยเหตุนี้พายุเพียงหนึ่งลูก อาจมีชื่อถึงสองชื่อก็ได้

ภาพรวมฤดูกาล แก้

มาตราพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก (คณะกรรมการไต้ฝุ่น)
  พายุดีเปรสชัน (≤61 กม./ชม.)   พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (118–156 กม./ชม.)
  พายุโซนร้อน (62–88 กม./ชม.)   พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (157–193 กม./ชม.)
  พายุโซนร้อนกำลังแรง (89–117 กม./ชม.)   พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (≥194 กม./ชม.)

พายุ แก้

พายุไต้ฝุ่นออร์คิด (เอาริง) แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 7 – 14 มกราคม
ความรุนแรง 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
955 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.2 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเพอร์ซี่ แก้

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 9 – 16 เมษายน
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนรูท แก้

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 17 – 19 มิถุนายน
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นสเปอร์รี่ (เบเบง) แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 26 มิถุนายน – 1 กรกฎาคม
ความรุนแรง 120 กม./ชม. (75 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเต็ลมา (กาตริง) แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 6 – 16 กรกฎาคม
ความรุนแรง 185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
915 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.02 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงเวอร์นอน (ดีดิง) แก้

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 15 – 22 กรกฎาคม
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเวย์น (เฮนิง) แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 18 กรกฎาคม – 1 สิงหาคม
ความรุนแรง 185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
920 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.17 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นอเล็กซ์ (เอตัง) แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 21 – 30 กรกฎาคม
ความรุนแรง 120 กม./ชม. (75 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
970 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.64 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเบ็ตตี้ (เฮร์มิง) แก้

พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (JMA)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 7 – 17 สิงหาคม
ความรุนแรง 205 กม./ชม. (125 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
870 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 25.69 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นแครี่ (อีซิง) แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 7 – 24 สิงหาคม
ความรุนแรง 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
960 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.35 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนในเดือนสิงหาคม แก้

พายุโซนร้อน (JMA)
 
ระยะเวลา 10 – 13 สิงหาคม
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1006 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.71 นิ้วปรอท)

ระบบพายุนี้ไม่ได้ถูกติดตามโดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม

พายุไต้ฝุ่นไดน่าห์ แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 19 – 31 สิงหาคม
ความรุนแรง 185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
915 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.02 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนเอ็ด แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 21 – 29 สิงหาคม
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
1006 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.71 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นฟรีดา แก้

พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 4 – 17 กันยายน
ความรุนแรง 195 กม./ชม. (120 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
915 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.02 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเจอรัลด์ (เนเนง) แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 4 – 11 กันยายน
ความรุนแรง 150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
950 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.05 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นฮอลลี่ แก้

พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (JMA)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 4 – 15 กันยายน
ความรุนแรง 205 กม./ชม. (125 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
900 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 26.58 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเอียน แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 22 กันยายน – 4 ตุลาคม
ความรุนแรง 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
955 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.2 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 17W แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
 
ระยะเวลา 25 – 26 กันยายน
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
1006 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.71 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเปเก แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 28 กันยายน (เข้ามาในแอ่ง) – 3 ตุลาคม
ความรุนแรง 150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
950 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.05 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนจูน แก้

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 27 กันยายน – 2 ตุลาคม
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเคลลี่ (โอเนียง) แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 9 – 17 ตุลาคม
ความรุนแรง 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
955 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.2 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นลินน์ (เปปัง) แก้

พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (JMA)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 14 – 28 ตุลาคม
ความรุนแรง 195 กม./ชม. (120 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
920 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.17 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนโมรี (โรซิง) แก้

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 7 – 19 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
995 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.38 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นนีน่า (ซีซัง) แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 16 – 30 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
930 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.46 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนอ็อกเดน แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 23 – 25 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
1002 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.59 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นฟิลลิส (ตรีนิง) แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 9 – 20 ธันวาคม
ความรุนแรง 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
960 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.35 นิ้วปรอท)

รายชื่อพายุ แก้

ในฤดูกาลนี้มีชื่อถูกใช้ไปทั้งสิ้น 23 ชื่อ โดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วมเป็นผู้ตั้งชื่อให้กับพายุหมุนเขตร้อนเหล่านี้ เมื่อระบบดังกล่าวมีความรุนแรงถึงระดับพายุโซนร้อนแล้ว รายชื่อเหล่านี้เป็นชุดรายชื่อฉบับแก้ไข เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522

ศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม แก้

รหัสเรียกพายุเป็นตัวเลขสี่หลัก สองหลักแรกเป็นตัวย่อของฤดูกาลนี้ในระบบปีคริสต์ศักราช (ค.ศ. 1987) และสองตัวหลังเป็นหมายเลขของพายุตามลำดับของกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น[2] ส่วนรหัสเรียกพายุที่เป็นตัวเลขต่อท้ายด้วยตัวอักษร W กำหนดโดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม[3]

รายชื่อพายุหมุนเขตร้อนสากลของมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกในฤดูกาล 2530
รหัสเรียก ชื่อพายุ รหัสเรียก ชื่อพายุ รหัสเรียก ชื่อพายุ รหัสเรียก ชื่อพายุ รหัสเรียก ชื่อพายุ
8701
(01W)
ออร์คิด
(Orchid)
8706
(06W)
เวอร์นอน
(Vernon)
8712
(11W)
ไดน่าห์
(Dinah)
8716
(16W)
เอียน
(Ian)
8722
(22W)
นีน่า
(Nina)
8702
(02W)
เพอร์ซี่
(Percy)
8707
(07W)
เวย์น
(Wynne)

(12W)
เอ็ด
(Ed)
8718
(18W)
จูน
(June)

(23W)
อ็อกเดน
(Ogden)
8703
(03W)
รูท
(Ruth)
8708
(08W)
อเล็กซ์
(Alex)
8713
(13W)
ฟรีดา
(Freda)
8719
(19W)
เคลลี่
(Kelly)
8723
(24W)
ฟิลลิส
(Phyllis)
8704
(04W)
สเปอร์รี่
(Sperry)
8709
(09W)
เบ็ตตี้
(Betty)
8714
(14W)
เจอรัลด์
(Gerald)
8720
(20W)
ลินน์
(Lynn)
8705
(05W)
เต็ลมา
(Thelma)
8711
(10W)
แครี่
(Cary)
8715
(15W)
ฮอลลี่
(Holly)
8721
(21W)
โมรี
(Maury)

หมายเหตุ: รหัสเรียกที่ 8717 ถูกใช้กับพายุเฮอร์ริเคนเปเก หลังจากที่พายุดังกล่าวเคลื่อนข้ามเส้นแบ่งวันสากลเข้ามาในแอ่ง ส่วน รหัสเรียกที่ 8710 ถูกใช้กับพายุโซนร้อนที่ไม่ได้ติดตามโดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม

ฟิลิปปินส์ แก้

สำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) จะใช้ชื่อของตัวเองหากมีพายุใดก่อตัวหรือเคลื่อนผ่านพื้นที่รับผิดชอบของตน[4] โดย PAGASA จะตั้งชื่อพายุให้กับพายุดีเปรสชันเขตร้อนที่ก่อตัวขึ้นภายในพื้นที่รับผิดชอบของตน และพายุหมุนเขตร้อนใดก็ตามที่เคลื่อนตัวผ่านพื้นที่ดังกล่าว โดยชื่อที่ใช้ถูกนำมาจากรายชื่อที่เป็นรายชื่อเดียวกับที่ถูกใช้ไปในฤดูกาล ค.ศ. 1983 (พ.ศ. 2526) ซึ่งชื่อใดในชุดนี้ที่ไม่ถูกถอนจะถูกนำกลับมาใช้ใหม่อีกครั้งในปี ค.ศ. 1991 (พ.ศ. 2534) โดย PAGASA ใช้รูปแบบการตั้งชื่อของตัวเองแบบเรียงตามตัวอักษรฟิลิปิโน (A, B, K, D เป็นต้น) เป็นชื่อผู้หญิงในภาษาฟิลิปิโน ซึ่งลงท้ายด้วยอักษร "ng" โดยชื่อที่ไม่ถูกใช้จะทำเป็น อักษรสีเทา

รายชื่อพายุหมุนเขตร้อนท้องถิ่นฟิลิปปินส์ในฤดูกาล 2530
เอาริง (Auring) เฮนิง (Gening) เนเนง (Neneng) ตรีนิง (Trining)
เบเบง (Bebeng) เฮร์มิง (Herming) โอเนียง (Oniang) ยูริง (Uring) (ไม่ถูกใช้)
การิง (Karing) อีซิง (Ising) เปปัง (Pepang) วาร์ลิง (Warling) (ไม่ถูกใช้)
ดีดิง (Diding) ลูดิง (Luding) โรซิง (Rosing) ยายัง (Yayang) (ไม่ถูกใช้)
เอตัง (Etang) มาเมง (Mameng) ซีซัง (Sisang)
รายชื่อเพิ่มเติม
อาดิง (Ading) (ไม่ถูกใช้) บารัง (Barang) (ไม่ถูกใช้)
กรีซิง (Krising) (ไม่ถูกใช้) ดาดัง (Dadang) (ไม่ถูกใช้) เอร์ลิง (Erling) (ไม่ถูกใช้) โกยิง (Goying) (ไม่ถูกใช้)

การถอนชื่อ แก้

เนื่องจากพายุไต้ฝุ่นกาตริง, เฮร์มิง และ ซีซัง สร้างความเสียหายและทำให้มียอดผู้เสียชีวิตจำนวนมากในประเทศฟิลิปปินส์ PAGASA จึงถอนชื่อ กาตริง, เฮร์มิง และ ซีซัง ออกจากชุดรายชื่อ และเลือกชื่อ การิง (Karing), เฮล์มิง (Helming) และ เซนดัง (Sendang) มาใช้แทนตามลำดับ

ผลกระทบ แก้

ตารางนี้รวมเอาทั้งหมดของระบบพายุที่ก่อตัวภายใน หรือ เคลื่อนตัวเข้ามาในมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ ทางฝั่งตะวันตกของเส้นแบ่งวันสากล ภายในปี พ.ศ. 2530 ตารางนี้ยังมีภาพรวมของความรุนแรงของระบบ ระยะเวลา บริเวณที่มีผลกระทบกับแผ่นดิน และจำนวนความเสียหายหรือจำนวนผู้เสียชีวิตใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบพายุ ส่วนตัวเลขมูลค่าความเสียหายถูกปรับเป็นค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ ค.ศ. 1987 (พ.ศ. 2530)

ชื่อพายุ ช่วงวันที่ ระดับความรุนแรง
ขณะมีกำลังสูงสุด
ความเร็วลมต่อเนื่อง
(เฉลี่ย 10 นาที)
ความกดอากาศ พื้นที่ผลกระทบ ความเสียหาย
(USD)
ผู้เสียชีวิต อ้างอิง
ออร์คิด
(เอาริง)
7 – 14 มกราคม พายุไต้ฝุ่น 165 กม./ชม. 955 hPa (28.20 นิ้วปรอท) หมู่เกาะแคโรไลน์ ไม่มี ไม่มี
เพอร์ซี่ 6 – 16 เมษายน พายุโซนร้อน 85 กม./ชม. 1000 hPa (29.53 นิ้วปรอท) หมู่เกาะแคโรไลน์ &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
รูท 17 – 20 มิถุนายน พายุโซนร้อน 85 กม./ชม. 992 hPa (29.29 นิ้วปรอท) ภาคใต้ของจีน &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
TD 17 – 18 มิถุนายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) ไต้หวัน, หมู่เกาะรีวกีว ไม่มี ไม่มี
สเปอร์รี่
(เบเบง)
26 มิถุนายน – 1 กรกฎาคม พายุไต้ฝุ่น 120 กม./ชม. 980 hPa (28.94 นิ้วปรอท) หมู่เกาะแคโรไลน์ ไม่มี ไม่มี
เต็ลมา
(กาตริง)
7 – 16 กรกฎาคม พายุไต้ฝุ่น 185 กม./ชม. 915 hPa (27.02 นิ้วปรอท) หมู่เกาะมาร์แชลล์, ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน, ญี่ปุ่น, คาบสมุทรเกาหลี &0000000272000000000000272 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 138
เวอร์นอน
(ดีดิง)
16 – 22 กรกฎาคม พายุโซนร้อนกำลังแรง 110 กม./ชม. 985 hPa (29/09 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน ไม่มี ไม่มี
เวย์น
(เฮนิง)
21 กรกฎาคม – 1 สิงหาคม พายุไต้ฝุ่น 185 กม./ชม. 920 hPa (27.17 นิ้วปรอท) หมู่เกาะมาร์แชลล์, หมู่เกาะมาเรียนา, ญี่ปุ่น ไม่มี ไม่มี
อเล็กซ์
(เอตัง)
21 – 29 กรกฎาคม พายุไต้ฝุ่น 120 กม./ชม. 970 hPa (28.64 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน ไม่มี ไม่มี
TD 5 – 6 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
TD 5 – 6 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1006 hPa (29.71 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
เบ็ตตี้
(เฮร์มิง)
8 – 17 สิงหาคม พายุไต้ฝุ่น 205 กม./ชม. 890 hPa (26.28 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, เวียดนาม, ไทย &0000000100000000000000100 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 92
ลูกที่ 10 10 – 13 สิงหาคม พายุโซนร้อน 65 กม./ชม. 1006 hPa (29.71 นิ้วปรอท) ญี่ปุ่น &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
แครี่
(อีซิง)
12 – 17 สิงหาคม พายุไต้ฝุ่น 140 กม./ชม. 960 hPa (28.35 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, เวียดนาม, ภาคใต้ของจีน &00000000055800000000005.58 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 25
TD 13 – 14 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1006 hPa (29.71 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
TD 18 – 21 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1008 hPa (29.77 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ไดน่าห์
(ลูดิง)
20 – 31 สิงหาคม พายุไต้ฝุ่น 185 กม./ชม. 915 hPa (27.02 นิ้วปรอท) หมู่เกาะแคโรไลน์, ญี่ปุ่น, เกาหลีใต้ &0000000679000000000000679 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 40
เอ็ด 21 – 29 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 65 กม./ชม. 1006 hPa (29.71 นิ้วปรอท) หมู่เกาะแคโรไลน์ ไม่มี ไม่มี
เจอรัลด์
(เนเนง)
3 – 10 กันยายน พายุไต้ฝุ่น 150 กม./ชม. 950 hPa (28.05 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน, จีน &0000000134500000000000135 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 127
มาเมง 3 – 5 กันยายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน 45 กม./ชม. 1002 hPa (29.59 นิ้วปรอท) เวียดนาม ไม่มี ไม่มี
ฟรีดา 4 – 18 กันยายน พายุไต้ฝุ่น 195 กม./ชม. 915 hPa (27.02 นิ้วปรอท) หมู่เกาะแคโรไลน์, หมู่เกาะมาเรียนา ไม่มี ไม่มี
ฮอลลี่ 5 – 17 กันยายน พายุไต้ฝุ่น 205 กม./ชม. 900 hPa (26.58 นิ้วปรอท) หมู่เกาะมาร์แชลล์ ไม่มี ไม่มี
เอียน 23 กันยายน – 4 ตุลาคม พายุไต้ฝุ่น 140 กม./ชม. 955 hPa (28.20 นิ้วปรอท) หมู่เกาะมาเรียนา ไม่มี ไม่มี
17W 25 – 26 กันยายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1006 hPa (29.71 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
เปเก 28 กันยายน – 6 ตุลาคม พายุไต้ฝุ่น 150 กม./ชม. 950 hPa (28.05 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
จูน 28 กันยายน – 2 ตุลาคม พายุโซนร้อน 85 กม./ชม. 992 hPa (29.29 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
เคลลี่
(โอเนียง)
9 – 17 ตุลาคม พายุไต้ฝุ่น 140 กม./ชม. 955 hPa (28.20 นิ้วปรอท) ญี่ปุ่น ไม่มี 8
ลินน์
(เปปัง)
15 – 28 ตุลาคม พายุไต้ฝุ่น 195 กม./ชม. 920 hPa (27.17 นิ้วปรอท) หมู่เกาะมาเรียนา, ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน, ภาคใต้ของจีน &000000003230000000000032.3 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 49
โมรี
(โรซิง)
13 – 19 พฤศจิกายน พายุโซนร้อน 85 กม./ชม. 994 hPa (29.35 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, เวียดนาม &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
นีน่า
(ซีซัง)
19 – 30 พฤศจิกายน พายุไต้ฝุ่น 195 กม./ชม. 920 hPa (27.17 นิ้วปรอท) หมู่เกาะแคโรไลน์, ฟิลิปปินส์, ภาคใต้ของจีน &000000008450000000000084.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 912
อ็อกเดน 23 – 25 พฤศจิกายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน 85 กม./ชม. 1002 hPa (29.59 นิ้วปรอท) เวียดนาม ไม่มี ไม่มี
ฟิลลิส
(ตรีนิง)
11 – 20 ธันวาคม พายุไต้ฝุ่น 140 กม./ชม. 960 hPa (28.35 นิ้วปรอท) หมู่เกาะแคโรไลน์, ฟิลิปปินส์ ไม่มี 13
สรุปฤดูกาล
32 ลูก 7 มกราคม – 20 ธันวาคม   205 กม./ชม. 890 hPa (26.28 นิ้วปรอท)   >&00000013083800000000001.31 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 1,404


ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. Gary Padgett. May 2003 Tropical Cyclone Summary. เก็บถาวร 2010-11-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Retrieved 2006-08-26.
  2. Japan Meteorological Agency (October 10, 1992). RSMC Best Track Data – 1980–1989 (Report). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (.TXT)เมื่อ 2014-12-05. สืบค้นเมื่อ July 19, 2017.
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ JTWC ATCR
  4. Staff Writer (2010-09-22). "Philippine Tropical cyclone names". Philippine Atmospheric, Geophysical and Astronomical Services. Administration. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-10-30. สืบค้นเมื่อ 2010-09-23.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้