ประพันธ์ กุลพิจิตร

พลเอก ประพันธ์ กุลพิจิตร เป็นอดีตปลัดกระทรวงกลาโหม อดีตแม่ทัพภาคที่ 3 และเป็นอดีตหัวหน้าพรรคเสรีชน

ประพันธ์ กุลพิจิตร
หัวหน้าพรรคเสรีชน
ดำรงตำแหน่ง
21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517 – 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด14 มกราคม พ.ศ. 2449
เสียชีวิต3 มิถุนายน พ.ศ. 2537 (88 ปี)
พรรคการเมืองพรรคเสรีชน
คู่สมรสคุณหญิงประพิศ กุลพิจิตร

ประวัติ แก้

พล.อ. ประพันธ์ เกิดเมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2449 เป็นบุตรของ ร.ต. โพ กับนางเรือน กุลพิจิตร สมรสกับคุณหญิงประพิศ กุลพิจิตร (สกุลเดิม บุนนาค) มีบุตรธิดา 4 คน

ราชการทหาร แก้

พล.อ. ประพันธ์ กุลพิจิตร รับราชการทหาร เคยดำรงตำแหน่งอดีตผู้บังคับกองพันทหารม้าที่ 4 ในกรณีพิพาทกับอินโดจีนของฝรั่งเศส พ.ศ. 2483 และ สงครามมหาเอเชียบูรพา พ.ศ. 2485 แม่ทัพภาคที่ 3 ระหว่างปี พ.ศ. 2501-2506[1] และเป็นปลัดกระทรวงกลาโหม ในระหว่าง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2508 – 31 มีนาคม พ.ศ. 2510

งานการเมือง แก้

พล.อ. ประพันธ์ กุลพิจิตร เคยได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2502[2] ต่อมาในปี พ.ศ. 2511 ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภา[3]

พล.อ. ประพันธ์ กุลพิจิตร ได้ร่วมกับสมาชิกจำนวนหนึ่งก่อตั้งพรรคเสรีชนขึ้น ในปี พ.ศ. 2517[4] และนำสมาชิกลงสมัคร ส.ส.ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518 แต่ได้รับเลือกตั้งเพียง 1 ที่นั่ง คือ สมชาย อินทราวุธ จากจังหวัดแพร่

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ แก้

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย แก้

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ แก้

อ้างอิง แก้

  1. ทำเนียบผู้บังคับบัญชา กองทัพภาคที่ 3
  2. แต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2502
  3. "รายชื่อสมาชิกวุฒิสภาชุดที่ ๓" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-05. สืบค้นเมื่อ 2020-05-02.
  4. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การจดทะเบียนจัดตั้งพรรคการเมือง" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-11-08. สืบค้นเมื่อ 2020-05-02.
  5. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๘๒ ตอนที่ ๑๑๑ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๓, ๒๓ ธันวาคม ๒๕๐๘
  6. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๘๐ ตอนที่ ๑๒๒ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๑, ๒๗ ธันวาคม ๒๕๐๖
  7. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๘๓ ตอนที่ ๔๓ ง หน้า ๑๘๓๐, ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๐๙
  8. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ, เล่ม ๖๐ ตอนที่ ๓๓ ง หน้า ๒๑๖๑, ๒๒ มิถุนายน ๒๔๘๖
  9. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ, เล่ม ๗๙ ตอนที่ ๘๓ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒, ๘ กันยายน ๒๕๐๕
  10. ราชกิจจานุเบกษา, บัญชีรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ, เล่ม ๕๑ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๒๒๔๙, ๗ ตุลาคท ๒๔๗๗
  11. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๕๙ ตอนที่ ๖๑ ง หน้า ๒๔๒๔, ๑๘ กันยายน ๒๔๘๕
  12. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๖๓ ตอนที่ ๑๗ ง หน้า ๔๒๘, ๒๖ มีนาคม ๒๔๘๙
  13. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๗๒ ตอนที่ ๒๒ ง หน้า ๗๑๘, ๒๒ มีนาคม ๒๔๙๘
  14. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตประดับเครื่องอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ, ตอน 75 เล่มที่ 62 หน้า 2249, 12 สิงหาคม 2501
  15. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2510/D/073/2236.PDF