จังหวัดอุบลราชธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2550 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 4 เขตเลือกตั้ง[1] มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 11 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2549 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1-3) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 4)

จังหวัดอุบลราชธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

← พ.ศ. 2549 (โมฆะ) 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2554 →

11 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ76.41%
  First party Second party Third party
 
พรรค พลังประชาชน ประชาธิปัตย์ ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 0 2 1
ที่นั่งที่ชนะ 4 3 3
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น4 เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น2
คะแนนเสียง 348,389 239,254 31,782
% 42.15 28.95 3.85

  Fourth party
 
พรรค เพื่อแผ่นดิน
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1
คะแนนเสียง 124,369
% 15.05

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

สุรยุทธ์ จุลานนท์
อิสระ (คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สมัคร สุนทรเวช
พลังประชาชน

ภาพรวม แก้

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดอุบลราชธานี) แก้

พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
พลังประชาชน 348,389 42.15%  22.12%
ประชาธิปัตย์ 239,254 28.95%  15.36%
เพื่อแผ่นดิน 124,369 15.05%  15.05%
ชาติไทย 31,782 3.85%  2.34%
มหาชน  10.56%
อื่น ๆ 82,670 10.00%  5.95%
ผลรวม 826,464 100.00%
  • คะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนเปรียบเทียบจากผลคะแนนเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อเมื่อปี พ.ศ. 2548
  • คะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนพรรคพลังประชาชนเปรียบเทียบจากผลรวมคะแนนเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อของพรรคพลังประชาชน (เดิม) และพรรคไทยรักไทย
คะแนนเสียง
พลังประชาชน
  
42.15%
ประชาธิปัตย์
  
28.95%
เพื่อแผ่นดิน
  
15.05%
ชาติไทย
  
3.85%
อื่น ๆ
  
10.00%

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน (รายเขตเลือกตั้ง) แก้

เขตการเลือกตั้ง พลังประชาชน ประชาธิปัตย์ เพื่อแผ่นดิน อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 97,859 40.14% 108,337 44.48% 19,997 8.21% 17,394 7.17% 243,587 100.00% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
เขต 2 90,020 43.85% 39,197 19.09% 46,052 22.43% 30,040 14.63% 205,309 100.00% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
ชาติไทย รักษาที่นั่ง
พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
เขต 3 91,847 42.41% 42,650 19.69% 33,881 15.64% 48,189 22.26% 216,567 100.00% ชาติไทย ได้ที่นั่ง
ชาติไทย ได้ที่นั่ง
เพื่อแผ่นดิน ได้ที่นั่ง
เขต 4 68,663 42.65% 49,070 30.48% 24,939 15.49% 18,329 11.38% 161,001 100.00% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ผลรวม 348,389 42.15% 239,254 28.95% 124,369 15.05% 114,452 13.85% 826,464 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดอุบลราชธานี) แก้

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
ที่นั่ง
จน. +/– %
พลังประชาชน 11 4  4 36.36%
ประชาธิปัตย์ 11 3  1 27.27%
ชาติไทย 11 3  2 27.27%
เพื่อแผ่นดิน 11 1  1 9.09%
ไทยรักไทย  7 0.00%
มหาชน  1 0.00%
อื่น ๆ 33 0   0.00%
ผลรวม 77 11   100.00%
ที่นั่ง
พลังประชาชน
  
36.36%
ประชาธิปัตย์
  
27.27%
ชาติไทย
  
27.27%
เพื่อแผ่นดิน
  
9.09%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง) แก้

เขตการเลือกตั้ง ลำดับ คะแนนที่ได้รับ ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง %
เขต 1 1 96,245 38.17% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
2 88,988 35.30% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
3 85,131 33.77% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
เขต 2 1 87,554 40.51% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
2 86,744 40.14% ชาติไทย รักษาที่นั่ง
3 85,307 39.47% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
เขต 3 1 94,976 42.00% ชาติไทย ได้ที่นั่ง
2 90,162 39.87% ชาติไทย ได้ที่นั่ง
3 65,955 29.17% เพื่อแผ่นดิน ได้ที่นั่ง
เขต 4 1 60,068 36.91% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
2 58,672 36.05% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน แก้

คะแนนรวมทั้งหมดในกลุ่มจังหวัดที่ 4 แก้

กลุ่มจังหวัดที่ 4 ประกอบไปด้วยจังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดยโสธร จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดสุรินทร์ และจังหวัดบุรีรัมย์ จำนวน 6 จังหวัด

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 4
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 345,672 9.70
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 65,583 1.84
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3)
ประชาธิปัตย์ (4) 681,617 19.12
พลังเกษตรกร (5)
รักเมืองไทย (6)
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8) 35,809 1.00
ประชาราช (9) 54,590 1.53
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11) 40,633 1.14
พลังประชาชน (12) 2,039,964 57.24
ชาติไทย (13) 105,883 2.97
ดำรงไทย (14) 11,477 0.32
มัชฌิมาธิปไตย (15) 81,947 2.30
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 26,945 0.76
ประชากรไทย (18)
ประชามติ (19) 29,724 0.83
ไทเป็นไท (20) 22,799 0.64
พลังแผ่นดินไท (21)
มหาชน (22)
คุณธรรม (23)
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 7,221 0.20
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29) 14,252 0.40
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31)
บัตรดี 3,564,116 91.47
บัตรเสีย 252,728 6.49
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 79,314 2.04
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 3,896,158 72.62
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 5,365,305 100.00

ผู้สมัครที่ได้รับการเลือกตั้งในกลุ่มจังหวัดที่ 4 แก้

แต่ละกลุ่มจังหวัดมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกลุ่มละ 10 คน สำหรับกลุ่มจังหวัดที่ 4 แบ่งออกเป็นตามสัดส่วนคะแนนดังนี้

พรรคการเมือง รายชื่อผู้สมัคร
พรรคพลังประชาชน สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี
ชัย ชิดชอบ
เพิ่มพูน ทองศรี
อดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์
พลตำรวจเอก วิรุฬห์ พื้นแสน
พฤฒิชัย วิริยะโรจน์
พรรคประชาธิปัตย์ วิฑูรย์ นามบุตร
ดนัย นพสุวรรณวงศ์
พรรคเพื่อแผ่นดิน วัลลภ ไทยเหนือ
พรรคชาติไทย วีระศักดิ์ โควสุรัตน์

คะแนนรวมเฉพาะจังหวัดอุบลราชธานี แก้

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 124,369 15.05
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 9,260 1.12
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3)
ประชาธิปัตย์ (4) 239,254 28.95
พลังเกษตรกร (5)
รักเมืองไทย (6)
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8) 8,222 0.99
ประชาราช (9) 8,444 1.02
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11) 7,602 0.92
พลังประชาชน (12) 348,389 42.15
ชาติไทย (13) 31,782 3.85
ดำรงไทย (14) 2,795 0.34
มัชฌิมาธิปไตย (15) 23,561 2.85
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 7,061 0.85
ประชากรไทย (18)
ประชามติ (19) 6,609 0.80
ไทเป็นไท (20) 4,582 0.55
พลังแผ่นดินไท (21)
มหาชน (22)
คุณธรรม (23)
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 1,374 0.17
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29) 3,160 0.38
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31)
บัตรดี 826,464 91.80
บัตรเสีย 54,545 6.06
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 19,279 2.14
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 900,288 76.41
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 1,178,173 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต แก้

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1 แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองอุบลราชธานี อำเภอเขื่องใน อำเภอม่วงสามสิบ อำเภอตาลสุม อำเภอดอนมดแดง และอำเภอเหล่าเสือโก้ก

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชาชน วรสิทธิ์ กัลป์ตินันท์ (7) 96,245 38.17
ประชาธิปัตย์ วุฒิพงษ์ นามบุตร (11) 88,988 35.30
ประชาธิปัตย์ ศุภชัย ศรีหล้า (10) 85,131 33.77
พลังประชาชน โกวิทย์ ธรรมานุชิต (8) 82,610 32.77
พลังประชาชน สมบัติ รัตโน (9)* 81,572 32.35
ประชาธิปัตย์ วิทวัส พันธ์นิกุล (12) 61,724 24.48
เพื่อแผ่นดิน อดุลย์ นิลเปรม (1)** 61,118 24.24
เพื่อแผ่นดิน ณรงค์ชัย วีระกุล (2) 32,909 13.05
เพื่อแผ่นดิน วุฒิไกร บุญใหญ่ (3) 24,267 9.63
มัชฌิมาธิปไตย นิรันดร์ พิทักษ์วัชระ (25) 16,319 6.47
รวมใจไทยชาติพัฒนา สิทธิคุณ เทียมประเสริฐ (16) 11,403 4.52
ดำรงไทย สมหวัง อาภรณ์ศรี (4) 9,027 3.58
ชาติไทย วิชัย ครองยุติ (19) 6,239 2.47
รวมใจไทยชาติพัฒนา อาทิตย์ คณะพันธ์ (18) 3,660 1.45
เสียงประชาชน วิไลวรรณ อุดรพูล (13) 3,026 1.20
ดำรงไทย นัฐนันท์ ภูเดชเรืองทรัพย์ (6) 2,677 1.06
เสียงประชาชน วีระศักดิ์ แสงกุล (15) 2,664 1.06
รวมใจไทยชาติพัฒนา ศรีบู ขจรฟุ้ง (17) 2,658 1.05
มัชฌิมาธิปไตย ชัชวาลย์ วาระนุช (26) 2,282 0.91
ดำรงไทย ศุภวัฒน์ ชาติวิเชียรรัตน์ (5) 1,620 0.64
มัชฌิมาธิปไตย สุรศักดิ์ รอนใหม่ (27) 1,295 0.51
เสียงประชาชน สุดาวดี ปามุทา (14) 1,274 0.51
ชาติไทย ไพรัช วรรณวงศ์ (20) 1,266 0.50
ชาติไทย ปราสาท สายดวง (21) 874 0.35
ประชาราช อุทิศพงษ์ สรวงสุธาร (34) 747 0.30
ความหวังใหม่ สัมฤทธิ์ บูชาพันธ์ (24) 733 0.29
ความหวังใหม่ อุบลกาญจน์ กำลังกล้า (23) 687 0.27
ความหวังใหม่ วิชช์ มณีภาค (22) 644 0.26
ประชาราช สธัจชนม์ ทองกลม (35) 537 0.21
พัฒนาประชาธิปไตย บุญเลี้ยง ดีโยธา (29) 498 0.20
ไทเป็นไท อนงค์ พิมพ์วงศ์ (31) 496 0.20
พัฒนาประชาธิปไตย ถิ่นทอง เชื้อนิล (30) 346 0.14
ประชามติ กำพล เจริญชัย (39) 334 0.13
ไทยร่ำรวย ณรงค์ แสนสิงห์ (40) 310 0.12
พัฒนาประชาธิปไตย เชวงศักดิ์ เศรษฐมาตย์ (28) 306 0.12
ไทยร่ำรวย กิตติศักดิ์ อินพานิช (42) 291 0.12
ประชามติ ชลัม ภุมกาญจน์ (38) 285 0.11
ประชาราช ฉลาด ทิพยอำนาจ (36) 237 0.09
ประชามติ เรืองยศ เจริญชัย (37) 237 0.09
ไทยร่ำรวย วิไลรัตน์ ฤกษ์ใหญ่ (41) 222 0.09
ไทเป็นไท กิ่งแก้ว ผสมทรัพย์ (32) 214 0.08
ไทเป็นไท ชนินเวท ทองมาลี (33) 177 0.07
บัตรดี 252,117 95.14
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 8,965 3.38
บัตรเสีย 3,921 1.48
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 265,003 79.33
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 334,067 100.00
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

เขตเลือกตั้งที่ 2 แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบไปด้วยอำเภอตระการพืชผล อำเภอเขมราฐ อำเภอศรีเมืองใหม่ อำเภอโขงเจียม อำเภอกุดข้าวปุ้น อำเภอโพธิ์ไทร อำเภอสิรินธร และอำเภอนาตาล

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชาชน สุทธิชัย จรูญเนตร (11) 87,554 40.51
ชาติไทย รัฐกิตติ์ ผาลีพัฒน์ (19)* 86,744 40.14
พลังประชาชน ชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ (12)** 85,307 39.47
เพื่อแผ่นดิน อุดร ทองประเสริฐ (13)* 71,242 32.96
เพื่อแผ่นดิน ณัฐาสินี กวีนัฏธยานนท์ (14) 42,256 19.55
พลังประชาชน ธนบูรณ์ชัย อร่ามเรือง (10) 40,281 18.64
เพื่อแผ่นดิน สุทัศน์ เรืองศรี (15) 30,736 14.22
ประชาราช วิทยา จันทวีศิริรัตน์ (1) 21,609 10.00
มัชฌิมาธิปไตย อมร นิลเปรม (16) 21,249 9.83
ประชาธิปัตย์ กฤษณา พรมจันทร์ (4) 16,814 7.78
มัชฌิมาธิปไตย วีระ รูปคม (17) 10,968 5.08
ประชาธิปัตย์ ร้อยตำรวจโท เทพประทีป ท้าวมา (5) 7,102 3.29
ประชาธิปัตย์ ฉลวย ประสมพันธ์ (6) 5,460 2.53
มัชฌิมาธิปไตย สมเกียรติ นัยวิกุล (18) 3,227 1.49
ประชาราช สมภพ ศุภษร (2) 3,156 1.46
ประชาราช สมเพียร จันทะเวช (3) 2,928 1.35
ความหวังใหม่ ประยูร พลศักดิ์ (9) 2,641 1.22
ความหวังใหม่ ครรชิต คนสัน (7) 2,180 1.01
ชาติไทย ไพโรจน์ โกศัลวัฒน์ (20) 1,923 0.89
ชาติไทย โชค สาธุวรรณ์ (21) 1,293 0.60
ไทเป็นไท ดาบตำรวจ จาตุรงค์ เจริญศรี (29) 1,293 0.60
ความหวังใหม่ อุไร สุพรรณนนท์ (8) 1,269 0.59
ดำรงไทย ศักดิ์ชัย แก้วชิน (31) 1,010 0.47
ประชากรไทย ชัยโรจน์ นองนุช (26) 950 0.44
ประชากรไทย พิชัย ชารีแก้ว (25) 910 0.42
รวมใจไทยชาติพัฒนา อิทธิพล ใจแก้ว (23) 875 0.40
รวมใจไทยชาติพัฒนา ไพจิตร พึ่งภพ (22) 765 0.35
รวมใจไทยชาติพัฒนา พุทธา หริคำภา (24) 698 0.32
ไทเป็นไท จิราภรณ์ ชูชม (30) 645 0.30
ดำรงไทย ประยงค์ บุญรอด (32) 516 0.24
ไทยร่ำรวย ปภาวี ไชยพิมพา (38) 499 0.23
ดำรงไทย ชันชัย มัฐผา (33) 482 0.22
ประชากรไทย เติมศักดิ์ สิมพะรักษ์ (27) 461 0.21
ไทเป็นไท ภรณ์ ปัญญาสาร (28) 415 0.19
ประชามติ บุษยารัตน์ อุดมอริยทรัพย์ (34) 337 0.16
ประชามติ พิทักษ์ วราห์คำ (35) 322 0.15
ไทยร่ำรวย รชต ดั่งประเสริฐกุล (39) 320 0.15
ไทยร่ำรวย ธรรมวิทย์ พีระรัตนจิตติ (37) 182 0.08
ประชามติ ฐิติพงศ์ เจริญชัย (36) 173 0.08
บัตรดี 216,117 96.16
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 5,152 2.29
บัตรเสีย 3,474 1.55
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 224,743 74.38
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 302,146 100.00
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
ชาติไทย รักษาที่นั่ง
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

เขตเลือกตั้งที่ 3 แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบไปด้วยอำเภอเดชอุดม อำเภอบุณฑริก อำเภอน้ำยืน อำเภอนาจะหลวย อำเภอสำโรง อำเภอน้ำขุ่น และอำเภอทุ่งศรีอุดม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย ตุ่น จินตะเวช (7)* 94,976 42.00
ชาติไทย ศักดิ์ชัย จินตะเวช (8)✔ 90,162 39.87
เพื่อแผ่นดิน สุชาติ ตันติวณิชชานนท์ (16)* 65,955 29.17
พลังประชาชน ชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์ (4)✔ 59,448 26.29
พลังประชาชน กิตติพงษ์ เทียมสุวรรณ (5)* 50,906 22.51
เพื่อแผ่นดิน ประจักษ์ แสงคำ (17) 41,140 18.19
ประชาธิปัตย์ เอกชัย ทรงอำนาจเจริญ (25) 36,247 16.03
พลังประชาชน จำนงค์ บุปผาดี (6) 29,648 13.11
เพื่อแผ่นดิน สมมาตร มะลิลา (18) 25,225 11.16
รวมใจไทยชาติพัฒนา ปัญญา จินตะเวช (10)✔ 22,785 10.08
ชาติไทย ประพัฒน์ พาพันธ์ (9) 8,704 3.85
รวมใจไทยชาติพัฒนา วิสาร ขันอ่อน (12) 8,408 3.72
มัชฌิมาธิปไตย กุญชร สุธรรมวิจิตร (24) 6,988 3.09
เสียงประชาชน สุริยพันธ์ ภักดีล้น (1) 6,443 2.85
ประชามติ วุฒิ เอี่ยมตุ้มรัตน์ (15) 6,040 2.67
มัชฌิมาธิปไตย วิทยากอบุญ บันทุปา (23)✔ 5,745 2.54
เสียงประชาชน ทวีทอง บุญสุข (3) 3,999 1.77
มัชฌิมาธิปไตย โอวาท จุลโคตร (22)✔ 3,511 1.55
ประชาธิปัตย์ บุญมี แก้วสง่า (26) 3,348 1.48
ประชามติ กุลนภา พิรพงศ์นุกูล (13) 2,976 1.32
เสียงประชาชน เอื้องแก้ว แสงกุล (2) 2,796 1.24
ประชาธิปัตย์ วีระ สุภโกศล (27) 2,559 1.13
พัฒนาประชาธิปไตย ปรีชา ทองเที่ยงดี (19) 2,337 1.03
พัฒนาประชาธิปไตย ศรุดา ชิตเชื้อ (20) 2,147 0.95
ความหวังใหม่ ณรงค์ พงษ์ภาพ (28) 2,095 0.93
ประชามติ อิทธิพล สอดศรี (14) 1,883 0.83
รวมใจไทยชาติพัฒนา ส่องศรี ใจหาญ (11) 1,767 0.78
ความหวังใหม่ แนบ โกษาผล (29) 1,627 0.72
พัฒนาประชาธิปไตย อติชาต พรมกอง (21) 1,384 0.61
ไทเป็นไท วิโรจ วิลามาศ (35) 1,028 0.45
ดำรงไทย อุรัญ บุญรักษา (32) 902 0.40
ความหวังใหม่ สุริยะ ชากุลชอบ (30) 816 0.36
ประชากรไทย วรายุทธ พุฒพิพักตร์ (37) 786 0.35
ดำรงไทย สนธยา ฉัตรสุวรรณ (31) 753 0.33
ไทเป็นไท อภิวัฒน์ คำวิเศษ (34) 749 0.33
ไทเป็นไท อ่อนจันทร์ เสนาพันธ์ (36) 665 0.29
ประชากรไทย วันชัย สุภากรณ์ (39) 460 0.20
ประชากรไทย ชัยสิทธิ์ สีทา (38) 458 0.20
ไทยร่ำรวย วรพจน์ พิริยะเสาวภาคย์ (42) 433 0.19
ดำรงไทย สังข์ทอง พันธ์สอน (33) 386 0.17
ไทยร่ำรวย พิเชษฐ์ นามศิริ (40) 279 0.12
ไทยร่ำรวย เวหา แสนอุบล (41) 240 0.11
บัตรดี 226,128 95.95
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 5,602 2.38
บัตรเสีย 3,941 1.67
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 235,671 77.64
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 303,561 100.00
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก มหาชน
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
เพื่อแผ่นดิน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

เขตเลือกตั้งที่ 4 แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบไปด้วยอำเภอวารินชำราบ อำเภอพิบูลมังสาหาร อำเภอนาเยีย และอำเภอสว่างวีระวงศ์

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชาชน สุพล ฟองงาม (1)* 60,068 36.91
ประชาธิปัตย์ อิสสระ สมชัย (15)* 58,672 36.05
พลังประชาชน พูลสวัสดิ์ โหตระไวศยะ (2)✔ 53,878 33.10
เพื่อแผ่นดิน ยัง โสภาสาย (10) 41,499 25.50
เพื่อแผ่นดิน อุทัย พละชัย (9) 21,306 13.09
ประชาธิปัตย์ เพิ่มศักดิ์ ศุภโกศล (16) 21,214 13.03
รวมใจไทยชาติพัฒนา กิตติ์ธัญญา วาจาดี (5) 5,872 3.61
ดำรงไทย สหัสวรรษ วงศ์สวัสดิ์ (12) 5,573 3.42
มัชฌิมาธิปไตย สุริยา ธิศาเวช (4) 5,203 3.20
มัชฌิมาธิปไตย แสง ศรีบุระ (3) 4,668 2.87
ดำรงไทย ธนพล สายบัว (11) 2,330 1.43
ชาติไทย ธนัท พร้อมพรชัย (7) 1,608 0.99
พัฒนาประชาธิปไตย ดาบตำรวจ โกศล ลาภสาร (14) 1,540 0.95
รวมใจไทยชาติพัฒนา พลตรี ธนายุทธ สายสมบัติ (6) 1,416 0.87
ชาติไทย อินตา ดวงสนิท (8) 1,140 0.70
พัฒนาประชาธิปไตย ชูเกียรติ สุวรรณพิมพ์ (13) 961 0.59
ไทเป็นไท วิทยา ผลคำ (22) 606 0.37
ไทเป็นไท จ่าสิบเอก พิชยุตม์ อินทะเสน (21) 508 0.31
ประชาราช ธนวัฒน์ ไพศาลเจริญโชติ (20) 500 0.31
ความหวังใหม่ สุพงษ์ ผาธรรม (17) 481 0.30
ประชาราช วิภาพร ไหลประเสริฐ (19) 453 0.28
ประชากรไทย จีระชัย พวงพันธ์ (24) 423 0.26
ประชามติ ฐิตารีย์ รุ่งโรจน์วิเศษ (25) 301 0.18
ความหวังใหม่ เลียง จิตรมั่น (18) 296 0.18
ประชากรไทย พันโท มนตรี ศรีระดา (23) 268 0.16
ประชามติ วิไลลักษณ์ เจริญชัย (26) 155 0.10
ไทยร่ำรวย ศักดิ์ชัย บรรดาศักดิ์ (27) 110 0.07
ไทยร่ำรวย ธีระพันธ์ สัตย์ธรรม (28) 97 0.06
บัตรดี 162,758 92.33
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 8,566 4.86
บัตรเสีย 4,954 2.81
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 176,278 73.94
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 238,399 100.00
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2550". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-06. สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น แก้