ขอขอบคุณที่ทดลองแก้ไขบทความในวิกิพีเดีย แต่การแก้ไขของคุณได้ถูกย้อนกลับหรือลบไปแล้ว
สำหรับการทดลองเขียน กรุณาใช้หน้าทดลองเขียน


ดูรายละเอียดเกี่ยวกับการร่วมแก้ไขในวิกิพีเดียได้ที่ การเริ่มต้นวิกิพีเดีย นโยบายวิกิพีเดีย และอะไรที่ไม่ใช่วิกิพีเดีย
ถามเกี่ยวกับการใช้งานวิกิพีเดียได้ที่แผนกช่วยเหลือ และสำหรับคำถามอื่น ๆ สามารถถามได้ที่ปุจฉา-วิสัชนา

กรุณาอย่าสร้างบทความใหม่เพียงเพื่อถามคำถาม มีเนื้อหาสั้นไม่เกินประโยค โฆษณา หรือคัดลอกข้อมูลจากแหล่งอื่น
และกรุณาอย่านำใส่หรือนำออกซึ่งเนื้อหาในวิกิพีเดีย โดยไม่เป็นการช่วยเหลือหรือเกี่ยวข้องกับบทความ หรือเป็นเรื่องไร้สาระ

ยินดีต้อนรับสู่วิกิพีเดียภาษาไทย

ยินดีต้อนรับคุณ WKPlatric สู่วิกิพีเดียภาษาไทย หน้าต่อไปนี้อาจเป็นประโยชน์แก่คุณ:

  มือใหม่ขอแนะนำอย่างยิ่งให้คุณเริ่มจากแก้หรือต่อเติมบทความที่มีอยู่แล้วก่อน ไม่ควรรีบสร้างบทความด้วยตัวเองเพราะมักไม่ผ่านและถูกลบ

แนะนำเว็บ

และ

เรียนรู้การแก้ไข (ขอใช้เวลาอ่านไม่นานเพื่อให้ทราบพื้นฐาน)

อีกทางหนึ่ง อ่านหน้า การเข้ามีส่วนร่วมในวิกิพีเดีย ซึ่งสรุปทุกอย่างไว้หน้าเดียว

ฉันอ่านหมดแล้วยังไม่เข้าใจเลย
ถามที่แผนกช่วยเหลือ หรือ ถามในหน้านี้แหละ! หรือ ใช้ แชตดิสคอร์ด

อย่าลืมลงชื่อในหน้าพูดคุย โดยการพิมพ์ --~~~~ จะปรากฏชื่อและวันเวลา

Hello WKPlatric! Welcome to Thai Wikipedia. If you are not a Thai speaker, you can ask a question in our Guestbook.


-- New user message (พูดคุย) 11:03, 2 ธันวาคม 2557 (ICT)

ธรรมกาย เทอร์โมไดนามิก แก้

                       ธรรมกาย เทอร์โมไดนามิกส์
         เรื่องของฟิสิกส์ที่น่าสนใจอีกแขนงนึงก็คือเรื่องของวิทยาศาสตร์ในการศึกษาความรู้เกี่ยวกับเรื่องของความร้อน   เรืองของความร้อนนั้นผมเองก็เคยศึกษาสมัยเรียนอยู่ที่มหาวิทยาลัย

การศึกษาเกี่ยวกับเรื่องของวิศวะกรรมเครื่องกลนั้น ต้องนำวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์มาประยุกข์มากมายเลยนะครับ ความรู้จากนักวิทยาศาสตร์กว่าจะส่งต่อจากรุ่นแรก ซึ่งเป็นผู้คิดทฤษฎีนั้น ต้องผ่านการถ่ายทอดไปสู่นักวิทยาศาสตร์รุ่นลูกหลาน ซึ่งผมเองก็มีความรู้สึกเคารพในตัวครูบาอาจารย์ซึ่งเป็นผู้คิดค้นศาสตร์เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์อย่างมากนะครับ เพราะผมก็ได้เรียนและ นำมาประยุกข์ จากความรู้จากพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามาประยุกข์เข้ากับความรู้ของนักวิทยาศาสตร์รุ่นปู่ รุ่นทวดน่ะครับ จริงๆผมเองก็หวั่นๆอยู่เหมือนกันว่า ผลงานที่ออกมาผู้ที่มาศึกษาใหม่นั้น จะเข้าใจทฤษฎีของผมหรือเปล่า ซึ่งผมก็ให้สัญญากับทุกคนที่นำทฤษฎีของผมไปใช้หรือไปเพิ่มเติมหรือต่อยอดนะครับ ว่าผมจะพยายามพัฒนาทฤษฎีของผมให้ต่อเนื่อง ให้ทันกับสมัยของ เทคโนโลยีที่กำลังจะเข้ามามีบทบาทในเมืองไทยและทฤษฎีของต่างชาติเองที่จะมีผลต่อเยาวชนรุ่นลูกหลานที่มาศึกษาต่อนะครับ ผลงานที่ผมเคยนำเสนอไปแล้วตอนนึงนั้นก็เป็นหัวข้อใหญ่เลยเกี่ยวกับการประยุกข์ความรู้ของครูบาอาจารย์ของผมก็คือ พระเดชพระคุณหลวงปู่วัดปากน้ำภาษีเจริญ พระผู้ปราบมาร และ ค้นพบวิชชาธรรมกาย และยิ่งไปกว่านั้นก็คือ ครูบาอาจารย์ที่วัดพระธรรมกายซึ่งเป็นผู้สืบสายธาตุธรรมก็คือ คุณยายอาจารย์มหารัตนะอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง ผู้ที่พระเดชพระคุณหลวงปู่ท่านได้ชมผลการปฎิบัติธรรมของคุณยาย ท่ามกลางศิษยานุศิษย์ของท่านเองว่า คุณยายเป็นหนึ่งไม่มีสอง ก็คือเป็นศิษย์ที่ให้ความเคารพในตัวหลวงปู่จนมีผลการปฎิบัติธรรมอยู่ในแนวหน้าในบรรดาศิษยานุศิษย์ของท่านนะครับ

                  ธรรมกาย เทอร์โมอะตอมมิก  
         การต่อยอดทางวิทยาศาสตร์นั้นหลักสำคัญก็คือ  วิชาที่จะมาต่อยอดต้องมากกว่าหรือเท่าเทียมกับผู้คิดค้นวิชานั้นนะครับ  ไม่อย่างงั้นทฤษฎีอาจผิดพลาดได้นะครับ   ผมเองก็เคยศึกษา

อยู่ที่มหาวิทยาลัย ความรู้ทางวิทยาศาสตร์นั้นส่วนใหญ่ก็ได้รับการถ่ายทอดจากครูบาอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิครับ และ จากนั้นผมเองก็ได้มาศึกษาด้วยตนเองโดยใช้ความรู้ของพระเดชพระคุณหลวงพ่อธัมมชโย หรือ พระเทพญาณมหามุนีครับ ก่อนอื่นก็ต้องขอบอกความเป็นมาเป็นไปของวิชชาธรรมกายของผมก่อนนะครับ ว่าผมเองก็รู้จักวัดพระธรรมกายตั้งแต่อยู่ปีหนึ่งที่มหาวิทยาลัยครับ โดยการชักชวนจากกัลญาณมิตร รุ่นพี่ที่หอครับ และหลังจากได้สัมผัสการทำสมาธิอย่างต่อเนื่องก็ทำให้ผมได้รู้จักกับวิชชาธรรมกายของหลวงปู่วัดปากน้ำครับ ซึ่งพระเดชพระคุณหลวงพ่อก็ได้ให้ความเมตตา โดยใช้วิชชาธรรมกายของท่านพาไปรู้ไปเห็นพระธรรมกายของบรมพุทธเจ้า หรือที่พระเดชพระคุณหลวงปู่วัดปากน้ำภาษีเจริญ (สด จันทสโร)ซึ่งสมณะศักดิ์สูงสุดสมัยที่ท่านยังมีชีวิตอยู่ก็มีชื่อว่า พระมงคลเทพมุนีย์นะครับ หลวงปู่ท่านกล่าวว่าพระต้นธาตุนั้น คือพระสัมมาสัมพุทธเจ้าองค์แรกในนิพพานนะครับ พระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้นในนิพพานนั้นก็มีหลายพระองค์เลยนะครับ และ ก็มีการปกครองเป็นลำดับๆเหมือนอย่างคณะรัฐบาลนะครับ ก็มีภาคผู้ปกครองและสมาชิกที่อยู่ในการปกครองครับ โดยมีการปกครองลดหลั่นกันลงมาเป็นลำดับๆนะครับ

              พระสัมมาสัมพุทธเจ้าคือใคร 
         ครับ  ก่อนที่จะมาเริ่มการต่อยอดสุดยอดวิชชาทางวิทยาศาสตร์  ก่อนอื่นเลยเราควรมาพูดคุยกันก่อนเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นในการทำความเข้าใจความรู้พื้นฐานกันก่อนนะครับ   เหมือนอย่างเราดูละครกันก่อนนอนนะครับ   ผมเองกับคุณแม่ก็ชอบที่จะดูละครก่อนนอนครับ   ก็ไม่ถึงกับติดหลอกครับ  แค่ดูคลายเครียดน่ะครับ   ก่อนละครจะเริ่มก็จะมีเพลงขึ้นคล้ายๆกับมิวสิกวีดีโอนะครับ  ส่วนอัธยาศัยส่วนตัวของผมก็คือ  ชอบที่จะศึกษาประวัติของนักแสดงน่ะครับ  และก็เข้าไปพูดคุยใน Facebook  ในรายการแสดงความคิดเห็นน่ะครับ   ก็คล้ายๆกันนะครับ

หากเราได้มาศึกษาวิชชาธรรมกาย เราจะรู้สึกรักและศรัทธาต่อพระองค์ท่านมากๆเลยนะครับ เพราะไม่ใช่แค่พระองค์ท่านเป็นสัตย์บุรุสที่เพรียบพร้อมทุกอย่างทั้งเรื่องชีวิตก็ดี การศึกษาก็ดี เรื่องครอบครัวก็ดี หากน้องๆและเพื่อนได้มาศึกษาพุทธประวัติ หรือ ประวัติของพระพุทธองค์นั้น เราก็รู้สึกเคารพในวิชชาของท่านนะครับ นอกจากจะทำให้ชีวิตของพระพุทธองค์เปลี่ยนเพศภาวะจากบุคคลธรรมดามาเป็นพระพุทธรัตนะ ซึ่งเป็นส่วนสุดยอดของพระรัตนะไตร ไม่เพียงแค่นั้นนะครับ หากเรามีโอกาศได้เข้ามาบวชหรือเป็นส่วนหนึ่งของพระรัตนะไตร คือ ได้มาเป็นธรรมธายาท คือการดำเนินตามรอบพระบาทของพระพุทธองค์แล้วจะรู้สึกว่าตัวเรานี้มีคุณค่ามากกว่าสอบมหาวิทยาลัยติดอีกนะครับ ซึ่งผมเองก็รู้จะเปรียบเทียบกับอะไรดีน่ะครับ ก็รู้สึกกลัวๆเหมือนกันนะครับว่าวิชชาธรรมกายที่ผมมีนั้นจะยากเกินไปสำหรับน้องๆและเพื่อนๆนะครับ ก็รู้สึกว่าตอนเรียนนั้นก็ยากนะครับ กว่าจะสอบผ่า่นในแต่ละด่านของการศึกษานั้นก็ต้องบากบั่นมากๆเลยนะครับ ก็ดีใจมากๆตอนได้สอบเข้ามาเรียนที่มหาวิทยาลัยน่ะครับ ก็รู้สึกสนุกกับชีวิตมหาลัย ในการเป็นนิสิตมหาวิทยาลัยนั้นแม้จะไม่สนุกเท่ากับการได้บวชเป็นพระภิกษุแต่ก็สนุกมากๆเลยนะครับ ยังงัยบัณฑิตใหม่ปีนี้หากสอบติดแล้วก็อย่าลืม ขยันเรียนให้มากๆนะครับ ออกไปรับใช้สังคมก็จะได้สัมผัสชีวิตการทำงานนะครับ ซึ่งผมเองแม้จะเรียนไม่ถึงกับได้เกรียตินิยมแค่สอบผ่านๆไป แต่พอได้มาเข้าทำงานเป็นพนักงานเงินเดือน แม้จะเงินเดือนไม่มากเท่าวิศวะกรจบใหม่ แต่ก็ยังมีที่พึ่งทางใจ และทางปัญญาก็คือความสันโดษครับ ก็คือความพอใจกับสิ่งทีมีครับ เพราะพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้นก็ได้ตรัสใว้ว่าความสันโดษนั้นเป็นถึงกับหนึ่งในมงคล 38 ประการเลยนะครับ

              "ชีวิตสมณะ"
        ชีวิตในวัตตะสงสารไม่ได้เรียบง่ายเหมือนการนั่งรถเมล์ไปทำงานนะครับ   ไม่ใช่แค่ขึ้นรถ ควักเงินค่าตั๋วโดยสาร  จ่ายตังค์  และหาที่นั่ง  นั่งมองทาง ปล่อยความคิดไปเรื่อยๆบนรถ คุยโทรศัพท์กับเพื่อนบนรถเมล์นะครับ    บางคนนั้นอย่าว่าแต่เครียดกับชีวิตเลย  หากได้ศึกษาวิธีใช้ชีวิตในพระไตรปิฎกแล้วเราจะสามารถได้อย่างมีความสุขขึ้นนะครับ  หากน้องๆและเพื่อนได้ติดตามการแสดงธรรมของหลวงพ่อในอนุบาลฝันในฝัน   ก็จะทราบดีนะครับ  ว่าฑัณทรมานของนรกนั้นน่ากลัวมากๆเลยนะครับ   และน้องๆจะเห็นได้ว่าการบวชนั้นเป็นเรื่องที่ยิ่งใหญ่นะครับ   ผมเองก็ได้สัมผัสชีวิตสมณะ  และ  ก็รู้สึกประทับใจมากๆเลยครับ   อยากจะบวชอีกเป็นสิบๆหนเลยครับ   แต่ก็ยังห่วงคุณแม่อยู่น่ะครับ  ตั้งแต่คุณพ่อจากไป คุณแม่ก็อยู่บ้านคนเดียวครับ ก็เลยบวชไม่ได้ครับ  แต่ก็ถือศีลพระธรรมกายครับ  มีศีล227 ยืนพื้น  และก็  กำกับด้วยศีลของวัดพระธรรมกายครับ  มี 9 ล้านกว่าข้อครับ  แต่ก็ถืออย่างได้ศีล 9 ล้านกว่าข้อ เป็นเรื่องที่ไม่ยากนะครับ  พระพุทธองค์เคยให้ทัสนะไว้หลายอย่างเลยนะครับ   สรุปได้ก็คือหากเรามีวิชชาแล้ว เราไม่มีคุณธรรมคอยกำกับ  เราก็อาจจะทำอะไรผิดพลาดได้ครับ   เหมือนกระบี่ที่ไม่มีฝักนะครับ  อาจจะบาดมือได้นะครับ   พระพุทธองค์ก็เคยตรัสไว้ในมงคลชีวิต 38 ข้อนะครับว่า  การมีวินัยเป็นมงคลอย่างยิ่งนะครับ  
           "ชีวิตในปรโลก"
      ชีวิตหลังความตายนั้นมีจริงนะครับ   คุณพ่อของผมเองท่านก็ไม่ได้นับถือศาสนาพุทธเหมือนคนไทยทั่วไปครับ  ก็เลยเห็นตัวอย่างได้อย่างชัดเจน   ในหลายสังคมของศาสนาที่ไม่ได้มีมรรคผลเป็นแก่นสารนั้น  เป็นอันตรายมากๆเลยนะครับ  เพราะขาดเป้าหมายชีวิตที่ชัดเจนในการดำเนินชีวิตนะครับ  ชีวิตในปรโลกนั้นน่า

กลัวมากๆเลยนะครับ ในนรกนั้นก็มีละครไทยหลายๆเรื่องที่เขียนจากภูมิปัญญาของนักเขียนที่นับถือศาสนาพุทธในอดีตมาถ่ายทอดให้ฟัง ได้ดูนะครับ แต่ให้ดีมาเรียนกับหลวงพ่อดีกว่านะครับ เพราะมีรายละเอียดที่ชัดเจนกว่ามากๆเลยนะครับ


10:37 น. 26 พ.ย. 2019 ไพรัตน์ เอกสมทราเมษฐ์ ภายใต้การดูแลของพระธรรมกายของ หลวงพ่อ และ คุณยาย


--ข้อความนี้ไม่ได้ลงชื่อ ซึ่งออกความเห็นโดยผู้ใช้ WKPlatric (พูดคุยหน้าที่เขียน) 10:30, 4 มีนาคม 2562 (ICT)

เราต้องการข้อมูลของคุณเกี่ยวกับการสื่อสารในวิกิพีเดีย แก้

Trizek (WMF) 17:14, 28 มีนาคม 2562 (ICT)