ซูม

(เปลี่ยนทางจาก Zoom)

ซูม วิดีโอคอมมิวนิเคชันส์ (อังกฤษ: Zoom Video Communications) หรือเรียกย่อว่า ซูม เป็นบริษัทอเมริกันที่ให้บริการซอฟต์แวร์ด้านการประชุมทางไกล และการประชุมออนไลน์ สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่แซนโฮเซ รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐ โดยให้บริการ การประชุมทางไกล การประชุมออนไลน์ แช็ต ความร่วมมือออนไลน์[5] ผ่านทางคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการวินโดว์และแมคโอเอส และมีบริการผ่านสมาร์ตโฟนและแท็บเลตผ่านทาง ระบบปฏิบัติการไอโอเอสและแอนดรอยด์

ซูม
ประเภทมหาชน
Traded as
วันที่ก่อตั้ง21 เมษายน 2011; 12 ปีก่อน (2011-04-21)
สำนักงานใหญ่แซนโฮเซ (รัฐแคลิฟอร์เนีย) สหรัฐ
พื้นที่ให้บริการทั่วโลก
ผู้ก่อตั้งเอริก หยวน
บุคคลสำคัญเอริก หยวน (ประธาน & CEO)
เคลลี สเตเกิลเบิร์ก (CFO)
ปีเตอร์ แกสส์เนอร์ (ผู้อำนวยการ)
เจนีน เพโลซี (CMO)[1]
บริการการโทรศัพท์ภาพ
แชตออนไลน์
ตู้สาขาโทรศัพท์
รายได้เพิ่มขึ้น 2.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค.ศ. 2021)[2]
รายได้จากการดำเนินงานเพิ่มขึ้น 660 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค.ศ. 2020)[3]
เงินได้สุทธิเพิ่มขึ้น 672 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค.ศ. 2020)[3]
สินทรัพย์รวมเพิ่มขึ้น 5.298 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค.ศ. 2020)[3]
หุ้นรวมเพิ่มขึ้น 3.861 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค.ศ. 2020)[3]
ลูกจ้าง2,532 (ค.ศ. 2020)
เว็บไซต์เว็บไซต์ทางการ Edit this at Wikidata
[4]

ซูมได้ถูกเรียกว่าเป็นซอฟต์แวร์ที่นิยมมากที่สุดในหลายประเทศในด้านประชุมทางไกล โดยมีลักษณะเด่นที่การใช้งานที่ง่ายเมื่อเทียบกับซอฟต์แวร์ประเภทเดียวกัน[6] ตั้งแต่ต้น ค.ศ. 2020 มีการใช้งานซอฟต์แวร์ของซูมเพิ่มขึ้นทั่วโลกหลังจากมีการใช้มาตรการการกักด่านเพื่อหยุดการระบาดทั่วของโควิด-19[7] และมีข้อวิจารณ์หลายอย่างในด้านความปลอดภัยทางคอมพิวเตอร์และความเป็นส่วนตัว[8][9][10]

ประวัติ แก้

ซูมก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2554 โดยเอริก ยวน วิศวกรจากบริษัทซิสโกหนึ่งในทีมงานที่พัฒนาซอฟต์แวร์ WebEx[5] โดยซูมเปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อ มกราคม พ.ศ. 2556 และในปีเดียวกันเดือนพฤษภาคม มีผู้ใช้งานมากกว่าหนึ่งล้านคน[11]

ผลิตภัณฑ์ แก้

 
โฆษณาซูมที่ท่าอากาศยานนานาชาติเดนเวอร์

ซูมให้บริการซอฟต์แวร์สำหรับประชุมออนไลน์ โดยแบ่งเป็นหลายรูปแบบ เช่น

  • Zoom Basic ให้บริการฟรี จำนวนเวลาใช้งานครั้งละ 40 นาที และผู้เข้าร่วม 100 คน
  • Zoom Pro จำนวนเวลาใช้งานไม่เกิน 24 ชั่วโมง และผู้เข้าร่วม 300 คน

และบริการอื่น

การวิพากษ์วิจารณ์ แก้

การห้ามใช้งาน แก้

จากปัญหาเรื่องความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัว หลายหน่วยงานได้มีการประกาศอย่างเป็นทางการในการห้ามใช้งาน อาทิ

ดูเพิ่ม แก้

รายการอ้างอิง แก้

  1. "Zoombombing new problematic trend | GMA" – โดยทาง www.youtube.com.
  2. Inc, Zoom Video Communications (March 1, 2021). "Zoom Video Communications Reports Fourth Quarter and Fiscal Year 2021 Financial Results". GlobeNewswire News Room.
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 "Zoom Video Communications Reports Fourth Quarter and Fiscal Year 2021 Financial Results - Zoom". investors.zoom.us (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2021-03-07.
  4. "Zoom Video Communications, Inc. 2019 Form 10-K Annual Report". U.S. Securities and Exchange Commission. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 8, 2020. สืบค้นเมื่อ June 11, 2020.
  5. 5.0 5.1 Maldow, David S. (27 January 2013). "Zoom's Full Featured UME Videoconferencing Platform Exceeds Expectations". Telepresence Options. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-09-08. สืบค้นเมื่อ 2020-04-10.
  6. Novet, Jordan (2020-03-21). "Why Zoom has become the darling of remote workers during the COVID-19 crisis". CNBC. สืบค้นเมื่อ 2020-04-07.
  7. Strauss, Valerie (March 20, 2020). "As schooling rapidly moves online across the country, concerns rise about student data privacy". The Washington Post. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 31, 2020. สืบค้นเมื่อ March 26, 2020.
  8. Morrison, Sara (March 31, 2020). "Zoom responds to its privacy (and porn) problems". Vox Media. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 11, 2020. สืบค้นเมื่อ April 7, 2020.
  9. Rae, Hodge (2020-04-15). "Timeline of every security issue uncovered in Zoom". CNET. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 16, 2020.
  10. Lopez, Napier (2020-04-22). "Zoom's 5.0 update helps stop zoombombing and improves encryption". The Next Web. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 8, 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-29.
  11. Pleasant, Robbie (23 May 2013). "Zoom Video Communications Reaches 1 Million Participants". TMCnet.
  12. Langley, Hugh. "Google has banned the Zoom app from all employee computers over 'security vulnerabilities'". Business Insider.
  13. "Google bans its employees from using Zoom over security concerns". msn.com.
  14. "Elon Musk's SpaceX bans Zoom over privacy concerns, memo shows". CNBC (ภาษาอังกฤษ). 1 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2 April 2020. NASA, one of SpaceX’s biggest customers, also prohibits its employees from using Zoom, said Stephanie Schierholz, a spokeswoman for the U.S. space agency.
  15. "Elon Musk's SpaceX Bans Zoom Over Privacy Concerns - Memo". nytimes.com (ภาษาอังกฤษ). 2 April 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-04-08. สืบค้นเมื่อ 2020-04-10.
  16. "Taiwan joins Canada in banning Zoom for government video conferencing". CBC News. 7 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-08.
  17. Welle (www.dw.com), Deutsche. "German government restricts use of Zoom over security concerns - reports | DW | 08.04.2020". DW.COM.
  18. Harris, Ainsley (5 April 2020). "Zoom banned from New York City schools due to privacy and security flaws". Fast Company. สืบค้นเมื่อ 2020-04-05.{{cite news}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  19. Debby Wu; Samson Ellis (7 April 2020). "Taiwan Bans Government Use of Zoom Over Cybersecurity Concerns". Bloomberg L.P. (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 7 April 2020. Taiwan barred all official use of Zoom, becoming one of the first governments to impose an outright ban on the popular video-conferencing app over security concerns.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้