STS-26 เป็นภารกิจกระสวยอวกาศของนาซาครั้งที่ 26 และเป็นเที่ยวบินที่เข้าสู่วงโคจรครั้งที่ 7 ของกระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี ภารกิจได้เริ่มต้นขึ้นที่ศูนย์อวกาศเคนเนดี, รัฐฟลอริด้า ในวันที่ 29 กันยายน ค.ศ. 1988 หลังจากนั้น 4 วัน ภารกิจได้สิ้นสุดในวันที่ 3 ตุลาคม STS-26 ได้รับตั้งสมญาว่า "รีเทริน์ ทู ไฟต์" (กลับสู่เที่ยวบิน) ซึ่งเป็นภารกิจแรกหลังจากเกิดภัยพิบัติกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ ในวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2529 เป็นภารกิจแรกตั้งแต่ภารกิจ STS-9 โดยใช้รหัส STS แบบเดียวกัน ภารกิจนี้เป็นครั้งแรกที่สมาชิกลูกเรือทั้งหมดใส่ชุดความดันในตอนเริ่มภารกิจจนถึงสิ้นสุดภารกิจ และเป็นภารกิจแรกที่มีประสบการณ์ครั้งแรกนับตั้งแต่อะพอลโล 11 โดยมีลูกเรือทั้งหมดปฎิบัติภารกิจอย่างน้อยหนึ่งภารกิจก่อน

STS-26
STS-26 ปล่อยตัวขึ้นที่ศูนย์อวกาศเคนเนดี เมื่อวันที่ 29 กันยายน ค.ศ. 1988
เครื่องหมายภารกิจ
แถวข้างหลัง จากซ้าย-ไปขวา: Lounge, Hilmers, Nelson. Front row
จากซ้าย-ไปขวา: Covey and Hauck.
ข้อมูลทั่วไป
ผู้ควบคุมนาซา
ระยะเวลาภารกิจ4 วัน, 1 ชั่วโมง, 11 วินาที
ระยะทางในการเดินทาง2,703,000 กิโลเมตร (1,680,000 ไมล์)
วงโคจรที่เข้าสำเร็จ64
ลูกเรือ
จำนวนลูกเรือ5 คน
สมาชิกFrederick H. Hauck
Richard O. Covey
John M. Lounge
David C. Hilmers
George D. Nelson
เริ่มภารกิจ
ข้อมูล29 กันยายน ค.ศ. 1988,
15:37:00 UTC
ที่ปล่อยศูนย์อวกาศเคนเนดี
สิ้นสุดภารกิจ
ข้อมูล3 ตุลาคม ค.ศ. 1988,
16:37:11 UTC
ที่ลงจอดฐานทัพอากาศเอ็ดเวิรด์
ภารกิจ
ก่อนหน้านี้ STS-51-L
หลังจากนี้ STS-27

สมาชิก แก้

ตำแหน่ง นักบินอวกาศ
ผู้บังคับบัญชา Frederick H. Hauck
ขึ้นสู่อวกาศครั้งที่สามและครั้งสุดท้าย
นักบิน Richard O. Covey
ขึ้นสู่อวกาศครั้งที่ 2
ผู้ปฏิบัติการภารกิจชำนาญคนที่ 1 John M. Lounge
ขึ้นสู่อวกาศครั้งที่ 2
ผู้ปฏิบัติการภารกิจชำนาญคนที่ 2 David C. Hilmers
ขึ้นสู่อวกาศครั้งที่ 2
ผู้ปฏิบัติการภารกิจชำนาญคนที่ 3 George D. Nelson
ขึ้นสู่อวกาศครั้งที่สามและครั้งสุดท้าย

เวค-อัพคอส์ แก้

เป็นธรรมเนียมที่ปฏิบัติกันมาอย่างยาวนานในการปลุกนักบินอวกาศด้วยเสียงเพลง เริ่มต้นครั้งแรกในภารกิจอะพอลโล 15[1] แต่ละเสียงจะถูกเลือกโดยครอบครัวของนักบินอวกาศที่ปฏิบัติภารกิจ โดยปกติเสียงเหล่านี้จะมีความหมายพิเศษในการปฏิบัติภารกิจของนักบินอวกาศ[1]

วันปฏิบัติภารกิจ เสียง ศิลปิน/นักแต่งเพลง
วันที่ 2 "กู๊ดดดดดดดดดดด มอร์นิ่ง ดิสคัฟเวอรี!!" โรบิน วิลเลียมส์
วันที่ 3 "ไอ เก็ต อราวด์" ล้อเลียน ไมค์ เคฮิลล์
วันที่ 4 "ฟัน, ฟัน, ฟัน..." ล้อเลียน ไมค์ เคฮิลล์

คลังภาพ แก้

อ้างอิง แก้

  บทความนี้รวมเอางานสาธารณสมบัติจากองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ

  1. 1.0 1.1 Fries, Colin (20 April 2010). "Chronology of Wakeup Calls" (PDF). NASA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2023-12-20. สืบค้นเมื่อ 24 May 2010.

บรรณานุกรม แก้

  • Young, John W. (16 September 2012). Forever Young: A Life of Adventure in Air and Space. University Press of Florida. p. 432. ISBN 978-0813042091.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้