แอนติทรอมบิน

(เปลี่ยนทางจาก SERPINC1)

แอนติทรอมบิน (อังกฤษ: Antithrombin; AT) เป็นโมเลกุลของโปรตีนขนาดเล็กที่มีหน้าที่ต้านการทำงานของเอนไซม์ในกระบวนการการจับลิ่มของเลือดหลายชนิด โดยแอนติทรอมบินนี้จัดเป็นไกลโคโปตีนชนิดหนึ่งที่ถูกสร้างขึ้นที่ตับ ประกอบไปด้วยกรดอะมิโน 432 มอนอเมอร์ มีพันธะไดซัลไฟด์ในโมเลกุล 3 ตำแหน่ง และมีตำแหน่งที่สามารถเกิดปฏิกิริยาไกลโคซิเลชั่นได้ 4 ตำแหน่ง โดยแอลฟา-แอนติทรมอบิน (α-Antithrombin) ถือเป็นไอโซฟอร์มของแอนติทรอมบินที่พบได้มากที่สุดในกระแสเลือด ซึ่งตำแหน่งสำหรับการเกิดปฏิกิริยาไกลโคซิเลชั่นทั้ง 4 ตำแหน่งจะมีหมู่โอลิโกแซ็กคาไรด์เกาะอยู่ ส่วนบีตา-แอนติทรมอบิน (β-antithrombin) ที่พบได้น้อยกว่า จะมีตำแหน่งไกลโคซิเลชั่น 1 ตำแหน่งที่ไม่ถูกเกาะติดโดยโอลิโกแซ็กคาไรด์[1] ทั้งนี้ การทำงานของแอนติทรอมบินสามารถถูกกระตุ้นให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้นหลายเท่าตัวได้โดยยาต้านการแข็งตัวของเลือด อาทิ เฮพาริน ซึ่งจะช่วยให้แอนติทรอมบินสามารถเข้าจับกับแฟคเตอร์ IIa (ทรอมบิน) และแฟคเตอร์ Xa ได้มากขึ้น[2]

Serpin family C member 1
Identifiers
Aliasesantithrombin III isoformantithrombin-IIIserpin peptidase inhibitor clade C member 1serpin peptidase inhibitorclade C (antithrombin)member 1SERPINC1serine (or cysteine) proteinase inhibitorclade C (antithrombin)member 1Serpin C1
External IDsGeneCards: [1]
RNA expression pattern
More reference expression data
Orthologs
SpeciesHumanMouse
Entrez
Ensembl
UniProt
RefSeq (mRNA)

n/a

n/a

RefSeq (protein)

n/a

n/a

Location (UCSC)n/an/a
PubMed searchn/an/a
Wikidata
View/Edit Human

การตั้งชื่อ แก้

โครงสร้าง แก้

หน้าที่ แก้

ผลของเฮพารินต่อแอนติทรอมบิน แก้

ผลของไกลโคซิเลชั่นต่อการออกฤทธิ์ แก้

โรคที่เกี่ยวเนื่อง แก้

การใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ แก้

Cleaved และ latent form แก้

การต้านการกำเนิดหลอดเลือด แก้

อ้างอิง แก้

  1. Bjork, I; Olson, JE (1997). Antithrombin, A bloody important serpin (in Chemistry and Biology of Serpins). Plenum Press. pp. 17–33. ISBN 978-0-306-45698-5.
  2. Finley, Alan; Greenberg, Charles (2013-06-01). "Review article: heparin sensitivity and resistance: management during cardiopulmonary bypass". Anesthesia and Analgesia. 116 (6): 1210–1222. doi:10.1213/ANE.0b013e31827e4e62. ISSN 1526-7598. PMID 23408671.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้