ซูโดอีเฟดรีน

(เปลี่ยนทางจาก Pseudoephedrine)

ซูโดอีเฟดรีน (อังกฤษ: pseudoephedrine, ย่อว่า PSE) เป็นสารเอมีนชนิดซิมพาเทติก มักใช้เพื่อลดอาการคัดจมูก ในประเทศไทย จัดเป็นวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทประเภท2 ตาม พ.ร.บ.วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท เช่นเดียวกับยาเสพติดประเภทอื่นๆ [1]

ซูโดอีเฟดรีน
ข้อมูลทางคลินิก
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์
  • AU: B2
  • US: otc
ช่องทางการรับยาการกิน
รหัส ATC
กฏหมาย
สถานะตามกฏหมาย
  • AU: S3 (จ่ายโดยเภสัชกรเท่านั้น)
  • UK: P (Pharmacy medicines)
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
ชีวประสิทธิผลไม่ทราบ
การเปลี่ยนแปลงยาตับ (10–30%)
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ9–16 ชั่วโมง
การขับออก70-90% ไต
ตัวบ่งชี้
  • (1S,2S) -2-methylamino-1-phenylpropan-1-ol
เลขทะเบียน CAS
PubChem CID
DrugBank
ChemSpider
ECHA InfoCard100.001.835
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC10H15NO
มวลต่อโมล165.23 g·mol−1
สารานุกรมเภสัชกรรม

โครงสร้างเคมี แก้

ซูโดอีเฟดรีน คือ ไดแอสเทอร์โอเมอร์ของเอฟิดรีน. ซูโดอีเฟดรีนเป็น ไครอลโมเลกุล หมายถึง สเตอริโอไอโซเมอร์ที่มีอะตอมไครัลมากกว่าหนึ่ง แต่ไม่ใช่คู่ที่เป็นภาพในกระจกซึ่งกันและกัน. ซูโดอีเฟดรีนเป็นสารตั้งต้นในการผลิตยาเมธแอมเฟตามีน หรือยาไอซ์ และ ยาบ้า [ต้องการอ้างอิง]

อ้างอิง แก้

  1. "อย.ยกฐานะ"ซูโดอีเฟดรีน"เป็นวัตถุออกฤทธิ์ประเภท 2". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-04-04. สืบค้นเมื่อ 2012-04-05.