กรดไนตริก
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
กรดไนตริก หรือ กรดดินประสิว (อังกฤษ: Nitric acid) เป็นกรดที่มีอันตราย หากสัมผัสจะทำให้เกิดแผลไหม้ขั้นรุนแรง กรดไนตริกนี้ ค้นพบโดยการสังเคราะห์ โดย "Muslim alchemist Jabir ibn Hayyan" ประมาณ ค.ศ. 800 กรดไนตริกบริสุทธ์ 100% (ปราศจากน้ำ) จะเป็นของเหลวที่มีความหนาแน่น 1,552 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร และจะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิ -42 °C ลูกบาศก์ โดยจะเป็นผลึกสีขาว และจะเดือดที่อุณหภูมิ 83 °C แต่ก็สามารถเดือดในที่ ที่มีแสงสว่าง ทั้ง ๆ ที่อยู่ในอุณหภูมิห้อง[6]
| |||
ชื่อ | |||
---|---|---|---|
IUPAC name
Nitric acid
| |||
ชื่ออื่น
| |||
เลขทะเบียน | |||
3D model (JSmol)
|
|||
3DMet | |||
ChEBI | |||
ChEMBL | |||
เคมสไปเดอร์ | |||
ECHA InfoCard | 100.028.832 | ||
EC Number |
| ||
1576 | |||
KEGG | |||
MeSH | Nitric+acid | ||
ผับเคม CID
|
|||
RTECS number |
| ||
UNII | |||
UN number | 2031 | ||
CompTox Dashboard (EPA)
|
|||
| |||
| |||
คุณสมบัติ | |||
HNO3 | |||
มวลโมเลกุล | 63.012 g·mol−1 | ||
ลักษณะทางกายภาพ | Colorless liquid[1] | ||
กลิ่น | Acrid, suffocating[1] | ||
ความหนาแน่น | 1.51 g/cm3, 1.41 g/cm3 [68% w/w] | ||
จุดหลอมเหลว | −42 องศาเซลเซียส (−44 องศาฟาเรนไฮต์; 231 เคลวิน) | ||
จุดเดือด | 83 องศาเซลเซียส (181 องศาฟาเรนไฮต์; 356 เคลวิน) 68% solution boils at 121 องศาเซลเซียส (250 องศาฟาเรนไฮต์; 394 เคลวิน) | ||
ผสมกันได้ | |||
log P | −0.13[2] | ||
ความดันไอ | 48 mmHg (20 °C)[1] | ||
pKa | −1.4[3] | ||
เบส | ไนเตรต | ||
−1.99×10−5 cm3/mol | |||
ดัชนีหักเหแสง (nD)
|
1.397 (16.5 °C) | ||
2.17 ± 0.02 D | |||
อุณหเคมี | |||
Std molar
entropy (S⦵298) |
146 J/(mol·K)[4] | ||
Std enthalpy of
formation (ΔfH⦵298) |
−207 kJ/mol[4] | ||
ความอันตราย | |||
GHS labelling: | |||
อันตราย | |||
H272, H300, H310, H330, H373, H411 | |||
P210, P220, P260, P305+P351+P338, P310, P370+P378 | |||
NFPA 704 (fire diamond) | |||
จุดวาบไฟ | ไม่ติดไฟ | ||
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC): | |||
LC50 (median concentration)
|
138 ppm (rat, 30 min)[1] | ||
NIOSH (US health exposure limits): | |||
PEL (Permissible)
|
TWA 2 ppm (5 mg/m3)[1] | ||
REL (Recommended)
|
TWA 2 ppm (5 mg/m3) ST 4 ppm (10 mg/m3)[1] | ||
IDLH (Immediate danger)
|
25 ppm[1] | ||
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) | ICSC 0183 | ||
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |||
แอนไอออนอื่น ๆ
|
กรดไนตรัส | ||
แคทไอออนอื่น ๆ
|
|||
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
|
|||
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
สารประกอบเคมีในกรดไนตริก (HNO3) , หรือ อควา ฟอร์ติส (aqua fortis) หรือ สปิริต ออฟ ไนเตอร์ (spirit of nitre) เป็นของเหลวที่กัดกร่อนและไม่มีสี เป็นกรดที่มีพิษที่สามารถทำให้เกิดแผลไฟไหม้อย่างรุนแรง สารละลายที่มีกรดไนตริกมากกว่า 86% เรียกว่า fuming nitric acid และสามารถกัดกร่อนโลหะมีตระกูล ได้ ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ ขาว (white fuming nitric acid) และแดง (red fuming nitric acid)
อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards. "#0447". National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
- ↑ "nitric acid_msds".
- ↑ Bell, R. P. (1973), The Proton in Chemistry (2nd ed.), Ithaca, NY: Cornell University Press
- ↑ 4.0 4.1 Zumdahl, Steven S. (2009). Chemical Principles 6th Ed. Houghton Mifflin Company. p. A22. ISBN 978-0-618-94690-7.
- ↑ "Safety Data Sheet" (PDF). fishersci.com. Fisher Scientific International. 23 March 2015. p. 2. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 10 September 2022. สืบค้นเมื่อ 4 October 2022.
- ↑ "กรดไนตริก (Nitric acid) หรือกรดดินประสิว". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-12-28. สืบค้นเมื่อ 2014-04-08.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards
- National Pollutant Inventory – Nitric Acid Fact Sheet
- Calculators: surface tensions, and densities, molarities and molalities of aqueous nitric acid