ชาวอินโดนีเซีย

พลเมืองหรือประชาชนอินโดนีเซีย
(เปลี่ยนทางจาก Indonesians)

ชาวอินโดนีเซีย (อินโดนีเซีย: orang Indonesia) เป็นพลเมืองหรือประชาชนในประเทศอินโดนีเซีย[20] โดยไม่คำนึงถึงภูมิหลังทางเชื้อชาติ ชาติพันธุ์ หรือศาสนา[21][22] ประเทศอินโดนีเซียมีกลุ่มชาติพันธุ์มากกว่า 1,300 กลุ่ม[23] ทำให้เป็นประเทศกลุ่มเกาะที่มีความหลากหลายทางภาษา วัฒนธรรม และความเชื่อทางศาสนา ประชากรอินโดนีเซียตามสำมะโนแห่งชาติใน พ.ศ. 2563 มี 270.2 ล้านคน[24] โดยร้อยละ 56 อาศัยอยู่บนเกาะชวา[25] ซึ่งเป็นเกาะที่มีประชากรมากที่สุดในโลก[26] ประชากรส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 95 ของชาวอินโดนีเซียเป็นชาวอินโดนีเซียพื้นเมือง (เดิมเป็นกลุ่มที่มีชื่อว่า ปรีบูมี) ร้อยละ 40 เป็นชาวชวา และร้อยละ 15 เป็นชาวซุนดา ในขณะที่ร้อยละ 5 เป็นชาวอินโดนีเซียที่มีบรรพบุรุษจากชาวต่างชาติ เช่น อาหรับ, จีน, อินเดีย, อินโด เป็นต้น

ชาวอินโดนีเซีย
Orang Indonesia
ประชากรทั้งหมด
 อินโดนีเซีย
ป. 270 ล้านคน[1]
สำมะโนอินโดนีเซีย พ.ศ. 2563
ป. 255 ล้านคน[2]
ประมาณการ พ.ศ. 2558
ป. 237 ล้านคน[3]
สำมะโนอินโดนีเซีย พ.ศ. 2553
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
 มาเลเซียประมาณ 3,550,000 คน (2562)[4]
 เนเธอร์แลนด์ประมาณ 3,120,000 คน (2562)[5]
 สิงคโปร์ประมาณ 2,740,000 คน (2562)[6]
 ไต้หวันประมาณ 780,000 คน (2562)[7]
 ฮ่องกงประมาณ 645,200 คน (2562)[8]
 ซาอุดีอาระเบียประมาณ 610,000 คน (2561)[9]
 สหรัฐ505,010 คน (2562)[10]
 ออสเตรเลีย105,870 คน (2562)[11]
 ซูรินาม102,000 คน (2562)[12]note
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์100,000 คน (2562)[13]
 ญี่ปุ่น91,448 คน (2562)[14][15]
 เกาหลีใต้84,279 คน (2562)[16]
 แคนาดา56,136 คน (2562)[17]
 เยอรมนี54,941 คน (2562)[18]
 บราซิล7,204 คน (2563)[19]
 นอร์เวย์1,000 คน (2564)
ภาษา
ส่วนใหญ่พูดภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน (อินโดนีเซีย, มลายู, ชวา, ซุนดา, บาหลี, บาตัก, มีนังกาเบา, บูกิส), กลุ่มภาษาปาปัว และภาษาอื่น ๆ
ศาสนา
ส่วนใหญ่
อิสลาม 86.7%
ส่วนน้อย
คริสต์ 10.72 % (โปรเตสแตนต์ 7.6% และโรมันคาทอลิก 3.12%) · ฮินดู 1.74% · พุทธ 0.8% · ลัทธิขงจื้อ 0.03% · วิญญาณนิยม · เชมัน · อาลีรันเกอเปอร์จายาอัน · ไม่มีศาสนา 0.4%

อ้างอิง แก้

  1. "Hasil Sensus Penduduk 2020" (PDF) (ภาษาอินโดนีเซีย). Statistics Indonesia. 21 January 2021. p. 9. สืบค้นเมื่อ 21 January 2021.
  2. "Population Projection by Province, 2010–2035". Statistics Indonesia. 18 February 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 July 2015. สืบค้นเมื่อ 6 August 2016.
  3. "Indonesia". International Monetary Fund. สืบค้นเมื่อ 25 April 2015.
  4. "Di Hadapan BMI Malaysia, Menlu Retno Tekankan Prioritas Perlindungan WNI" (ภาษาอินโดนีเซีย). Embassy of the Republic of Indonesia, Kuala Lumpur. 27 January 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 March 2016. สืบค้นเมื่อ 11 March 2016. Diperkirakan terdapat sekitar 2,5 juta warga Indonesia berada di Malaysia, dimana hampir setengahnya berstatus ilegal.
  5. "Ada 1,8 Juta Diaspora Indonesia di Belanda". Swa.co.id. สืบค้นเมื่อ 23 September 2015.
  6. "Kian ramai dari Indonesia jadi warga" (PDF) (ภาษามาเลย์). Berita Harian. 20 February 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 10 March 2016. สืบค้นเมื่อ 11 March 2016.
  7. "Indonesia, Taiwan sign agreement on migrant protections". The Jakarta Post. 30 April 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 November 2015. สืบค้นเมื่อ 11 January 2016.
  8. Media Indonesia Online 30 November 2006
  9. Maulana, Victor (23 October 2018). "600.000 WNI Tinggal di Saudi, Dua Menlu Bahas Perlindungan". SINDOnews.com. สืบค้นเมื่อ 9 April 2021.
  10. "Meet Marvell" (PDF). Forbes Magazine. 14 August 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 14 October 2006.
  11. "Statistics". Abs.gov.au.[ลิงก์เสีย]
  12. "Department of Census and Statistics, Sri Lanka – Population by ethnic group according to districts, 2012". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-04-28. สืบค้นเมื่อ 2021-10-20.
  13. Ruiz, Ramona (30 May 2012). "Indonesian envoy wants fewer maids sent to UAE". The National. Abu Dhabi. สืบค้นเมื่อ 4 October 2018.
  14. Sakurai 2003: 33
  15. Sakurai 2003: 41
  16. KIS Statistics 2013 (PDF). Korean Immigration Service. 29 May 2014. p. 378. ISSN 2005-0356. สืบค้นเมื่อ 10 April 2017.
  17. Census 2006
  18. Indonesians in Germany – their engagement in the development เก็บถาวร 19 ตุลาคม 2017 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (2016)
  19. "Imigrantes internacionais registrados no Brasil". www.nepo.unicamp.br. สืบค้นเมื่อ 2021-08-20.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  20. "Undang-Undang Nomor 12 Tahun 2006 or Law No.12/2006" (PDF). 2006.
  21. Center for Information and Development Studies. (1998) Pribumi dan Non-Pribumi dalam Perspektif Pemerataan Ekonomi dan Integrasi Sosial (Pribumi and Non-Pribumi in the Perspective of Economic Redistribution and Social Integration). Jakarta, Indonesia: Center for Information and Development Studies
  22. Suryadinata, Leo. (1992) Pribumi Indonesians, the Chinese Minority, and China. Singapore: Heinemann Asia.
  23. Zein, Subhan (2020). Language policy in superdiverse Indonesia. New York and London: Routledge. ISBN 9780367029548.
  24. "Hasil Sensus Penduduk 2020" (PDF) (ภาษาอินโดนีเซีย). Statistics Indonesia. 21 January 2021. p. 9. สืบค้นเมื่อ 21 January 2021.
  25. "Hasil Sensus Penduduk 2020" (PDF) (ภาษาอินโดนีเซีย). Statistics Indonesia. 21 January 2021. p. 9. สืบค้นเมื่อ 21 January 2021.
  26. Calder, Joshua (3 May 2006). "Most Populous Islands". World Island Information. สืบค้นเมื่อ 26 September 2006.