ทุรคาบูชา

(เปลี่ยนทางจาก Durga Puja)

ทุรคาบูชา (เบงกอล: দুর্গাপূজা, อัสสัม: দুৰ্গা পূজা, โอเดีย: ଦୁର୍ଗା ପୂଜା) เป็นเทศกาลในศาสนาฮินดูที่บูชาพระทุรคา[3][4] เป็นที่นิยมฉลองกันมากเป็นพิเศษในรัฐเบงกอลตะวันตก, รัฐอัสสัม, รัฐตรีปุระ และ รัฐโอฑิศา รวมถึงบังกลาเทศ และ เนปาล เทศกาลนี้ตรงกับเดือน “อัศวิน” ตามปฏิทินฮินดู (ราวกันยายน - ตุลาคม)[5][6] เฉลิมฉลองหลายวัน มีการตกแต่งศาสนสถานและเวทีต่าง ๆ อย่างอลังการ (ปันทัล) การขับร้องบทสวดบูชา การแสดงและนาฏศิลป์ และขบวนแห่[3][7][8] เทศกาลนี้ถือเป็นเทศกาลหลักใหญ่หนึ่งในลัทธิศักติของศาสนาฮินดู[9][10][11]

ทุรคาปูชา
ขบวนแห่พระทุรคาบนถนนเรด โกลกาตา
จัดขึ้นโดยชาวเบงกอล, ชาวโอเดีย, ชาวไมติล และ ชาวอัสสัม[1]
ประเภทศาสนาฮินดู
การเฉลิมฉลองพบปะครอบครัว รับประทานอาหารร่วมกัน ประดับประดาแสงไฟ พิธีการละลายเทวรูปดิน
การถือปฏิบัติพิธีการบูชาพระทุรคา
เริ่มวันที่หกของอัศวินศุกลปักษ์[2]
วันที่เจ็ดของอัศวินศุกลปักษ์ (รัฐพิหาร)
สิ้นสุดวันที่สิบของอัศวินสุกลปักษ์ [2]
วันที่Ashvin Shukla Pratipada, Ashvin Shukla Dwitiya, Ashvin Shukla Tritiya, Ashvin Shukla Chaturthi, Ashvin Shukla Panchami, Ashvin Shukla Shashthi, Ashvin Shukla Saptami, Ashvin Shukla Ashtami, Ashvin Shukla Navami, Ashvin Shukla Dashami
ความถี่รายปี
ส่วนเกี่ยวข้องมหาลยะ, นวราตรี, วิชัยทัศมี

ทุรคาบูชานั้นเฉลิมฉลองชัยชนะของพระนางในศึกระหว่างพระทุรคา และ ปีศาจควาย มหิงษาสูร[12][13][note 1] จึงเป็นนัยสื่อถึงการเฉลิมฉลองของความดีที่ชนะความชั่ว แต่กระนั้นก็เฉลิมฉลองเทศกาลเก็บเกี่ยวในฐานะของเทวีแห่งพลังมารดาอันสรรสร้างสรรพสิ่ง และชีวิตในจักรวาล[15][16]

หมายเหตุ

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. Security cover in place for Durga puja celebrations in Odisha, India Today; Noida's Assamese community celebrates Durga Puja, The Times of India
  2. 2.0 2.1 "Durga Puja Tithi and Timing". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-09-14. สืบค้นเมื่อ 17 July 2012.
  3. 3.0 3.1 James G. Lochtefeld 2002, p. 208.
  4. Cynthia Bradley 2012, p. 214.
  5. David Kinsley 1988, pp. 106–108.
  6. Encyclopedia Britannica 2015.
  7. J. Gordon Melton (2011). Religious Celebrations: An Encyclopedia of Holidays, Festivals, Solemn Observances, and Spiritual Commemorations. ABC-CLIO. pp. 239–241. ISBN 978-1-59884-206-7.
  8. Laura Amazzone 2011, pp. 82–83.
  9. Rachel Fell McDermott 2001, pp. 172–174.
  10. Lynn Foulston & Stuart Abbott 2009, pp. 162–169.
  11. Hillary Rodrigues 2003, pp. 7–8.
  12. Alain Daniélou 1991, p. 288.
  13. June McDaniel 2004, pp. 215–219.
  14. June McDaniel 2004, pp. 20–21, 217–219.
  15. David Kinsley 1988, pp. 111–112.
  16. Henrike Donner (2016). Domestic Goddesses: Maternity, Globalization and Middle-class Identity in Contemporary India. Routledge. p. 25. ISBN 978-1-317-14848-7.

บรรณานุกรม

แก้


อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "note" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="note"/> ที่สอดคล้องกัน