เครือรัฐเอกราช

(เปลี่ยนทางจาก Commonwealth of Independent States)

เครือรัฐเอกราช (อังกฤษ: Commonwealth of Independent States หรือ CIS; รัสเซีย: Содружество Независимых Государств หรือ СНГ) เป็นองค์กรระหว่างประเทศที่ตั้งขึ้นหลังจากที่สหภาพโซเวียตล่มสลายลง โดยมีประเทศสมาชิกเป็นประเทศที่ประกาศเอกราชจากสหภาพโซเวียต (ยกเว้นกลุ่มประเทศบอลติก)

เครือรัฐเอกราช

Содружество Независимых Государств (รัสเซีย)
ธงชาติเครือรัฐเอกราช
ธงชาติ
ตราของเครือรัฐเอกราช
ตรา
      รัฐสมาชิก       ดินแดนพิพาท[1]       รัฐสมาชิกร่วม
      รัฐสมาชิก
      ดินแดนพิพาท[1]

      รัฐสมาชิกร่วม
ศูนย์กลางบริหาร
เมืองใหญ่สุดมอสโก
ภาษาราชการรัสเซีย
ภาษาชนกลุ่มน้อย
ประเภทระหว่างรัฐบาล
สมาชิก9 รัฐสมาชิก
1 รัฐสมาชิกร่วม
1 รัฐสังเกตการณ์
ผู้นำ
เซอร์เกย์ เลเบเดฟ
• ประธาน
วาเลนตินา มัตวิเยนโก
• หัวหน้า
คาซัคสถาน
สภานิติบัญญัติInterparliamentary Assembly[3]
ก่อตั้ง
8 ธันวาคม 1991
21 ธันวาคม 1991
22 มกราคม 1993
20 กันยายน 2012
พื้นที่
• รวม
20,368,759[4] ตารางกิโลเมตร (7,864,422 ตารางไมล์)
ประชากร
• 2018 ประมาณ
เพิ่มขึ้น 236,446,000 (ไม่รวมไครเมีย)
11.77 ต่อตารางกิโลเมตร (30.5 ต่อตารางไมล์)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2018 (ประมาณ)
• รวม
5.378 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ
22,745 ดอลลาร์สหรัฐ
จีดีพี (ราคาตลาด) 2020 (ประมาณ)
• รวม
1.828 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ
7,732 ดอลลาร์สหรัฐ
เอชดีไอ (2017)0.740
สูง
สกุลเงินไม่มีสกุลเงินทั่วไปa
9 ประเทศสมาชิก
1 รัฐที่เกี่ยวข้อง
เขตเวลาUTC+2 ถึง +12
ขับรถด้านขวามือ
โดเมนบนสุด.ru, .by, .am, .kz, .kg, .az, .md, .tj, .uz
เว็บไซต์
e-cis.info
a รูเบิลโซเวียตใน ค.ศ. 1991 ถึง 1994

ประเทศสมาชิก

แก้
 
สมาชิกปัจจุบัน
ประเทศ[5] ข้อตกลง/สัตยาบัน กฎบัตรให้สัตยาบัน หมายเหตุ
  อาร์มีเนีย 18 ก.พ. 1992 16 มี.ค. 1994 สมาชิกผู้ก่อตั้ง
  อาเซอร์ไบจาน 24 ก.ย. 1993 24 ก.ย. 1993
  เบลารุส 10 ธ.ค. 1991 18 ม.ค. 1994 สมาชิกผู้ก่อตั้ง
  คาซัคสถาน 23 ธ.ค. 1991 20 เม.ย. 1994 สมาชิกผู้ก่อตั้ง
  คีร์กีซสถาน 6 มี.ค. 1992 12 เม.ย. 1994 สมาชิกผู้ก่อตั้ง
  มอลโดวา 8 เม.ย. 1994 15 เม.ย. 1994
  รัสเซีย 12 ธ.ค. 1991 20 ก.ค. 1993 สมาชิกผู้ก่อตั้ง
  ทาจิกิสถาน 26 มิ.ย. 1993 4 ส.ค. 1993
  อุซเบกิสถาน 4 ม.ค. 1992 9 ก.พ. 1994 สมาชิกผู้ก่อตั้ง
ผู้ให้สัตยาบันข้อตกลงการก่อตั้ง
ประเทศ[5] ข้อตกลง/สัตยาบัน กฎบัตรให้สัตยาบัน หมายเหตุ
  เติร์กเมนิสถาน 26 ธ.ค. 1991 ไม่ได้ให้สัตยาบัน "สมาชิกผู้ก่อตั้ง" ไม่เคยเป็นสมาชิกเต็มรูปแบบ เป็น "รัฐภาคี" ตั้งแต่ปี 2005
  ยูเครน 10 ธ.ค. 1991 ไม่ได้ให้สัตยาบัน "สมาชิกผู้ก่อตั้ง" ไม่เคยเป็นสมาชิกเต็มรูปแบบ เป็น "รัฐภาคี" ตั้งแต่ปี 1994 ถึง 2018[6] ส่วนใหญ่ไม่เข้าร่วมในเครือรัฐเอกราช ตั้งแต่ปี 2014 และถอนตัวแทนออกจากหน่วยงานตามกฎหมายทั้งหมดของเครือรัฐเอกราช ในปี 2018 อันเป็นผลมาจากสงครามรัสเซีย–ยูเครน[7]
รัฐสังเกตการณ์
ประเทศ ได้รับสถานะผู้สังเกตการณ์ กฎบัตรให้สัตยาบัน หมายเหตุ
  สาธารณรัฐอิสลามอัฟกานิสถาน 2006 ไม่ได้ให้สัตยาบัน เข้าร่วมเป็นรัฐผู้สังเกตการณ์ในปี 2006[8] สถานะที่เป็นปัญหาตั้งแต่การยึดอัฟกานิสถานโดยกลุ่มตอลิบานในเดือนสิงหาคม 2021
  มองโกเลีย 2008 ไม่ได้ให้สัตยาบัน [2]
อดีตสมาชิก
ประเทศ ข้อตกลง/สัตยาบัน กฎบัตรให้สัตยาบัน ลาออก มีผล หมายเหตุ
  จอร์เจีย 3 ธ.ค. 1993 19 เม.ย. 1994 18 ส.ค. 2008 18 ส.ค. 2009 ลาออกในช่วงสงครามรัสเซีย-จอร์เจีย ปี 2008

อ้างอิง

แก้
  1. Taylor & Francis (2020). "Republic of Crimea". The Territories of the Russian Federation 2020. Routledge. ISBN 978-1-003-00706-7. Note: The territories of the Crimean peninsula, comprising Sevastopol City and the Republic of Crimea, remained internationally recognised as constituting part of Ukraine, following their annexation by Russia in March 2014.
  2. 2.0 2.1 "Грузия проиграла, а СНГ будет жить вечно!". Обозреватель. 19 August 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 May 2011. สืบค้นเมื่อ 14 January 2018.
  3. "Commonwealth of Independent States – Ministry of Foreign Affairs of the Republic of Belarus". mfa.gov.by. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 August 2017. สืบค้นเมื่อ 23 August 2017.
  4. Corresponds to the terrestrial surface. Including the Exclusive Economic Zones of each member state, the total area is 28 509 317 km².
  5. 5.0 5.1 "Сведения о ратификации документов, принятых в рамках СНГ в 1991 – 2014 годах". Commonwealth of Independent States. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 November 2012. สืบค้นเมื่อ 10 October 2014.
  6. d'Anieri, Paul J. (July 1999). Economic Interdependence in Ukrainian-Russian Relations. ISBN 9780791442463. สืบค้นเมื่อ 25 September 2014.
  7. Ponomarenko, Illia (19 May 2018). "Ukraine withdraws all envoys from CIS bodies". Kyiv Post. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 May 2018. สืบค้นเมื่อ 20 May 2018.
  8. "Inter-Parliamentary Assembly of the Member States of the Commonwealth of Independent States (IPA CIS)". Federation Council of the Federal Assembly of Russia. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-01-16. สืบค้นเมื่อ 14 June 2022.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้