แอฟริกาคัพออฟเนชันส์

(เปลี่ยนทางจาก African Nations Cup)

แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ (อังกฤษ: Africa Cup of Nations) หรือบางทีเรียกว่า แอฟริกาเนชันส์คัพ (Africa Nations Cup ย่อว่า ANC) เป็นการแข่งขันสำหรับทีมชาติที่ใหญ่ที่สุดในทวีปแอฟริกาจัดขึ้นโดยสมาพันธ์ฟุตบอลแอฟริกา (CAF) โดยเริ่มจัดครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2500 (ค.ศ. 1957) โดยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2511 เป็นต้นมาการแข่งขันถูกจัดขึ้นทุกสองปี[1]

แอฟริกาคัพออฟเนชันส์
ก่อตั้ง1957; 67 ปีที่แล้ว (1957)
ภูมิภาคแอฟริกา (ซีเอเอฟ)
จำนวนทีม24
การแข่งขันที่เกี่ยวข้องคอนเฟเดอเรชันส์คัพ
ทีมชนะเลิศปัจจุบันธงชาติโกตดิวัวร์ โกตดิวัวร์ (สมัยที่ 3)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดธงชาติอียิปต์ อียิปต์ (7 สมัย)
เว็บไซต์www.cafonline.com/total-africa-cup-of-nations/
แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2023

ในครั้งแรกที่จัดเริ่มต้นใน ปี 1957 นั้นมีประเทศเข้าร่วม 3 ทีม อียิปต์ ซูดาน และ เอธิโอเปีย ซึ่งในปัจจุบันได้มีประเทศในทวีปแอฟริกาทั้งหมดเข้าร่วมการแข่งขัน โดยรอบสุดท้ายจะมีทีมร่วมแข่งขันทั้งหมด 24 ทีม ซึ่งแบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม โดยสองทีมที่คะแนนที่ดีที่สุดในแต่ละสายจะผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก[2]

ประเทศที่มีผลงานดีที่สุดคือ อียิปต์ ซึ่งชนะทั้งหมด 7 ครั้ง ตามมาด้วย แคเมอรูน ซึ่งชนะทั้งหมด 5 ครั้ง และ กานา ซึ่งชนะทั้งหมด 4 ครั้ง

ถ้วยการแข่งขันมีการเปลี่ยนแปลงทั้งหมด 3 รูปแบบ โดยถ้วยที่ใช้ในปัจจุบันเริ่มมีการมอบให้ตั้งแต่ปี 2002

ผลการแข่งขัน แก้

ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงที่สาม ประเทศที่เข้าร่วม
ชนะเลิศ ผลการ
แข่งขัน
รองชนะเลิศ อันดับ 3 ผลการ
แข่งขัน
อันดับ 4
1
(2500)
  ซูดาน   อียิปต์ 4 - 0   เอธิโอเปีย   ซูดาน   แอฟริกาใต้ 4
2
(2502)
  สหสาธารณรัฐอาหรับ   สหสาธารณรัฐอาหรับ 2 - 1   ซูดาน   เอธิโอเปีย 3
3
(2505)
  เอธิโอเปีย   เอธิโอเปีย 4 - 2
ต่อเวลา
[[Image:{{{flag alias-UAR}}}|22x20px|border |ธงชาติอียิปต์]] อียิปต์   ตูนิเซีย 3 - 0   ยูกันดา 4
4
(2506)
  กานา   กานา 3 - 0   ซูดาน [[Image:{{{flag alias-UAR}}}|22x20px|border |ธงชาติอียิปต์]] อียิปต์ 3 - 0   เอธิโอเปีย 6
5
(2508)
  ตูนิเซีย   กานา 3 - 2
ต่อเวลา
  ตูนิเซีย   โกตดิวัวร์ 1 - 0   เซเนกัล 6
6
(2511)
  เอธิโอเปีย   สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก 1 - 0   กานา   โกตดิวัวร์ 1 - 0   เอธิโอเปีย 8
7
(2513)
  ซูดาน   ซูดาน 1 - 0   กานา [[Image:{{{flag alias-UAR}}}|22x20px|border |ธงชาติอียิปต์]] อียิปต์ 3 - 1   โกตดิวัวร์ 8
8
(2515)
  แคเมอรูน   สาธารณรัฐคองโก 3 - 2   มาลี   แคเมอรูน 5 - 2   ซาอีร์ 8
9
(2517)
  อียิปต์   ซาอีร์ 2 - 2
ต่อเวลา
2 - 0
การแข่งขันใหม่
  แซมเบีย   อียิปต์ 4 - 0   สาธารณรัฐคองโก 8
10
(2519)
  เอธิโอเปีย   โมร็อกโก -----   กินี   ไนจีเรีย -----   อียิปต์ 8
11
(2521)
  กานา   กานา 2 - 0   ยูกันดา   ไนจีเรีย 2 - 0   ตูนิเซีย 8
12
(2523)
  ไนจีเรีย   ไนจีเรีย 3 - 0   แอลจีเรีย   โมร็อกโก 2 - 0   อียิปต์ 8
13
(2525)
  ลิเบีย   กานา 1 - 1
ต่อเวลา
(7 - 6)
ดวลลูกโทษ
  ลิเบีย   แซมเบีย 2 - 0   แอลจีเรีย 8
14
(2527)
  โกตดิวัวร์   แคเมอรูน 3 - 1   ไนจีเรีย   แอลจีเรีย 3 - 1   อียิปต์ 8
15
(2529)
  อียิปต์   อียิปต์ 0 - 0
ต่อเวลา
(5 - 4)
ดวลลูกโทษ
  แคเมอรูน   โกตดิวัวร์ 3 - 2   โมร็อกโก 8
16
(2531)
  โมร็อกโก   แคเมอรูน 1 - 0   ไนจีเรีย   แอลจีเรีย 1 - 1
ต่อเวลา
(4 - 3)
ดวลลูกโทษ
  โมร็อกโก 8
17
(2533)
  แอลจีเรีย   แอลจีเรีย 1 - 0   ไนจีเรีย   แซมเบีย 1 - 0   เซเนกัล 8
18
(2535)
  เซเนกัล   โกตดิวัวร์ 0 - 0
ต่อเวลา
(11 - 10)
ดวลลูกโทษ
  กานา   ไนจีเรีย 2 - 1   แคเมอรูน 12
19
(2537)
  ตูนิเซีย   ไนจีเรีย 2 - 1   แซมเบีย   โกตดิวัวร์ 3 - 1   มาลี 12
20
(2539)
  แอฟริกาใต้   แอฟริกาใต้ 2 - 0   ตูนิเซีย   แซมเบีย 1 - 0   กานา 15
21
(2541)
  บูร์กินาฟาโซ   อียิปต์ 2 - 0   แอฟริกาใต้   สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก 4 - 4
ต่อเวลา
(4 - 1)
ดวลลูกโทษ
  บูร์กินาฟาโซ 16
22
(2543)
  กานา
  ไนจีเรีย
  แคเมอรูน 2 - 2
ต่อเวลา
(4 - 3)
ดวลลูกโทษ
  ไนจีเรีย   แอฟริกาใต้ 2 - 2
ต่อเวลา
(4 - 3)
ดวลลูกโทษ
  ตูนิเซีย 16
23
(2545)
  มาลี   แคเมอรูน 0 - 0
ต่อเวลา
(3 - 2)
ดวลลูกโทษ
  เซเนกัล   ไนจีเรีย 1 - 0   มาลี 16
24
(2547)
  ตูนิเซีย   ตูนิเซีย 2 - 1   โมร็อกโก   ไนจีเรีย 2 - 1   มาลี 16
25
(2549)
  อียิปต์   อียิปต์ 0 - 0
ต่อเวลา
(4 - 2)
ดวลลูกโทษ
  โกตดิวัวร์   ไนจีเรีย 1 - 0   เซเนกัล 16
26
(2551)
  กานา   อียิปต์ 1 - 0   แคเมอรูน   กานา 4 - 2   โกตดิวัวร์ 16
27
(2553)
  แองโกลา   อียิปต์ 1 - 0   กานา   ไนจีเรีย 1 - 0   แอลจีเรีย 15
28
(2555)
  กาบอง
  อิเควทอเรียลกินี
  แซมเบีย 0 - 0
ต่อเวลา
(8 - 7)
ดวลลูกโทษ
  โกตดิวัวร์   มาลี 2 - 0   กานา 16
29
(2556)
  แอฟริกาใต้   ไนจีเรีย 1 - 0   บูร์กินาฟาโซ   มาลี 3 - 1   กานา 16
30
(2558)
  อิเควทอเรียลกินี   โกตดิวัวร์ 0 - 0
ต่อเวลา
(9 - 8)
ดวลลูกโทษ
  กานา   สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก 0 - 0
ต่อเวลา
(4 - 2)
ดวลลูกโทษ
  อิเควทอเรียลกินี 16
31
(2560)
  กาบอง   แคเมอรูน 2 - 1   อียิปต์   บูร์กินาฟาโซ 1 - 0   กานา 16
32
(2562)
  อียิปต์   แอลจีเรีย 1 - 0   เซเนกัล   ไนจีเรีย 1 - 0   ตูนิเซีย 24
33
(2564)
  แคเมอรูน   เซเนกัล 0 – 0
(ดวลลูกโทษ 4 – 2)
  อียิปต์   แคเมอรูน 3 – 3
(ดวลลูกโทษ 5 – 3)
  บูร์กินาฟาโซ 24
34
(2566)
  โกตดิวัวร์   โกตดิวัวร์ 2 – 1   ไนจีเรีย   แอฟริกาใต้ 0 – 0
(ดวลลูกโทษ 6 – 5)
  สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก 24
35
(2568)
  โมร็อกโก รอระบุ รอระบุ 24
36
(2570)
  เคนยา
  แทนซาเนีย
  ยูกันดา
รอระบุ รอระบุ 24

ความสำเร็จในแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ แก้

ทีมชาติ ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับสาม อันดับสี่ รวม
  อียิปต์ 7 (1957, 1959*1, 1986*, 1998, 2006*, 2008, 2010) 3 (19621, 2017, 2021) 3 (19631, 19701, 1974*) 3 (1976, 1980, 1984) 16
  แคเมอรูน 5 (1984, 1988, 2000, 2002, 2017) 2 (1986, 2008) 1 (1972*) 1 (1992) 9
  กานา 4 (1963*, 1965, 1978*, 1982) 5 (1968, 1970, 1992, 2010, 2015) 1 (2008*) 4 (1996, 2012, 2013, 2017) 14
  ไนจีเรีย 3 (1980*, 1994, 2013) 5 (1984, 1988, 1990, 2000*, 2023) 8 (1976, 1978, 1992, 2002, 2004, 2006, 2010, 2019) 16
  โกตดิวัวร์ 3 (1992, 2015, 2023*) 2 (2006, 2012) 4 (1965, 1968, 1986, 1994) 2 (1970, 2008) 11
  แอลจีเรีย 2 (1990*, 2019) 1 (1980) 2 (1984, 1988) 2 (1982, 2010) 7
  สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก 2 (19682, 19743) 2 (1998, 2015) 2 (19723, 2023) 6
  แซมเบีย 1 (2012) 2 (1974, 1994) 3 (1982, 1990, 1996) 6
  ตูนิเซีย 1 (2004*) 2 (1965*, 1996) 1 (1962) 3 (1978, 2000, 2019) 7
  ซูดาน 1 (1970*) 2 (1959, 1963) 1 (1957*) 4
  เซเนกัล 1 (2021) 2 (2002, 2019) 3 (1965, 1990, 2006) 6
  เอธิโอเปีย 1 (1962*) 1 (1957) 1 (1959) 2 (1963, 1968*) 5
  โมร็อกโก 1 (1976) 1 (2004) 1 (1980) 2 (1986, 1988*) 5
  แอฟริกาใต้ 1 (1996*) 1 (1998) 2 (2000, 2023) 4
  สาธารณรัฐคองโก 1 (1972) 1 (1974) 2
  มาลี 1 (1972) 2 (2012, 2013) 3 (1994, 2002*, 2004) 6
  บูร์กินาฟาโซ 1 (2013) 1 (2017) 1 (1998*) 3
  ยูกันดา 1 (1978) 1 (1962) 2
  กินี 1 (1976) 1
  ลิเบีย 1 (1982*) 1
  อิเควทอเรียลกินี 1 (2015*) 1
 
แผนที่ประเทศในทวีปแอฟริกาแบ่งสีตามผลงานที่ดีที่สุด

* เจ้าภาพ

อ้างอิง แก้

  1. "African Cup of Nations - How it all began". BBC Sport. BBC. 14 December 2001. สืบค้นเมื่อ 13 February 2012.
  2. "Africa Cup of Nations moved to June and July and expanded to 24 teams". BBC. 20 July 2017.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้