55 ปู อี (อังกฤษ: 55 Cancri e, มีชื่อย่อว่า 55 Cnc e ในอดีตมีชื่อเป็น แยนซัน (Janssen, /ˈænsən/)) เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่โคจรรอบดาวฤกษ์คล้ายดวงอาทิตย์ 55 ปู เอ มีมวลประมาณ 7.8 มวลโลกและเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 เท่าของโลก[4] จึงถูกจัดเป็นซูเปอร์เอิร์ธดวงแรกที่ถูกค้นพบรอบดาวฤกษ์ในแถบลำดับหลัก โดยที่ถูกค้นพบก่อน กลีเซอ 876 ดี ประมาณหนึ่งปี ใช้เวลาเพียงไม่ถึง 18 ชั่วโมงเพื่อโคจรรอบดาวฤกษ์แม่ และเป็นดาวเคราะห์วงในสุดในระบบดาวเคราะห์ของมัน 55 ปู อี ถูกค้นพบเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม ค.ศ. 2004 ก่อนการสังเกตการณ์เพิ่มเติมและการคำนวณใหม่ในปี ค.ศ. 2010 ดาวเคราะห์ดวงนี้เคยถูกคาดการณ์ว่าใช้เวลา 2.8 วันในการโคจรรอบดาวฤกษ์แม่[2] ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2012 ได้มีการประกาศว่า 55 ปู อี อาจเป็นดาวเคราะห์คาร์บอน[5][6]

55 ปู อี
ดาวเคราะห์นอกระบบ รายชื่อ

ภาพของศิลปินแสดงถึง 55 ปู อี ใกล้กับดาวหลัก
ดาวฤกษ์แม่
ดาวฤกษ์ 55 ปู เอ
กลุ่มดาว กลุ่มดาวปู
ไรต์แอสเซนชัน (α) 08h 52m 35.8s
เดคลิเนชัน (δ) +28° 19′ 51″
ความส่องสว่างปรากฏ (mV) 5.95
ระยะห่าง40.3 ± 0.4 ly
(12.3 ± 0.1 pc)
ชนิดสเปกตรัม G8V
มวล (m) 0.95 ± 0.10 M
รัศมี (r) 1.152 ± 0.035 R
อุณหภูมิ (T) 5373 ± 9.7 K
ความเป็นโลหะ [Fe/H] 0.29
อายุ 7.4–8.7 พันล้านปี
องค์ประกอบวงโคจร
กึ่งแกนเอก(a) 0.01560 ± 0.00011[1] AU
    1.27 mas
จุดใกล้ที่สุดจากดาวฤกษ์แม่ (q) 0.0129 AU
จุดไกลที่สุดจากดาวฤกษ์แม่ (Q) 0.0183 AU
ความเยื้องศูนย์กลาง (e) 0.17 ± 0.04[1]
คาบการโคจร(P)0.7365449 (± 0.000005)[1] d
ความเอียง (i) 83.4 ± 1.7°
มุมของจุดใกล้ที่สุด (ω) 181 ± 2[1]°
เวลาที่เข้าใกล้ดาวฤกษ์แม่ที่สุด (T0) 2,449,999.83643 ± 0.0001[2] JD
ครึ่งแอมพลิจูด (K) 6.2 ± 0.2[1] m/s
ลักษณะทางกายภาพ
มวล(m)8.63 ± 0.35[3] M
รัศมี(r)2.00 ± 0.14[3] R
ฟลักซ์การแผ่รังสีของดาว(F)2590
ความหนาแน่น(ρ)5.9+1.5
−1.1
[3] g cm-3
ข้อมูลการค้นพบ
ค้นพบเมื่อ 30 สิงหาคม ค.ศ. 2004
ค้นพบโดย บาร์บารา แมกอาเธอร์ และคณะ
วิธีตรวจจับ ความเร็วแนวเล็ง
วิธีตรวจจับอื่น ๆ การเคลื่อนผ่าน
การผันผวนของแสงสะท้อนในวงโคจร
สถานที่ที่ค้นพบ รัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา
สถานะการค้นพบ ยืนยันแล้ว
ชื่ออื่น
55 ปู เออี, โร1 ปู อี, เอชดี 75732 อี
อ้างอิงกับฐานข้อมูลอื่น
สารานุกรม
ดาวเคราะห์นอกระบบ
ข้อมูล
ซิมแบดข้อมูล

อ้างอิง

แก้
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 Dawson; Fabrycky; และคณะ (2010-05-21). "Radial velocity planets de-aliased. A new, short period for Super-Earth 55 Cnc e". The Astrophysical Journal. 722: 937–953. arXiv:1005.4050. Bibcode:2010ApJ...722..937D. doi:10.1088/0004-637X/722/1/937.
  2. 2.0 2.1 Fischer, D. A.; และคณะ (2007-12-23). "Five Planets Orbiting 55 Cancri". Astrophysics. 675: 790–801. arXiv:0712.3917. Bibcode:2008ApJ...675..790F. doi:10.1086/525512.
  3. 3.0 3.1 3.2 Winn, J.N; และคณะ (2008). "A Super Earth Transiting a Naked-Eye Star". Astronomy & Astrophysics. arXiv:1104.5230. Bibcode:2011ApJ...737L..18W. doi:10.1088/2041-8205/737/1/L18.
  4. Staff (20 January 2012). "Oozing Super-Earth: Images of Alien Planet 55 Cancri e". Space.com. สืบค้นเมื่อ 2012-01-21.
  5. Chris Wickham (11 October 2012). "A diamond bigger than Earth?". Reuters. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-11-19. สืบค้นเมื่อ 11 October 2012.
  6. Nikku Madhusudhan, Olivier Mousis, Kanani K. M. Lee (2012). "A Possible Carbon-rich Interior in Super-Earth 55 Cancri e". Astrophysical Journal Letters. arXiv:1210.2720. Bibcode:2012ApJ...759L..40M. doi:10.1088/2041-8205/759/2/L40.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)

พิกัด:   08h 52m 35.8s, +28° 19′ 51″