4 เวสตา
ดาวเคราะห์น้อย
(เปลี่ยนทางจาก 4 เวสต้า)
4 เวสตา (ละติน: Vesta) เป็นวัตถุขนาดใหญ่ที่มีมวลมากที่สุดเป็นลำดับสองในแถบดาวเคราะห์น้อย โดยมีเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยประมาณ 530 กิโลเมตร (329 ไมล์) [1] และมีมวลคิดเป็นประมาณ 9% ของมวลดาวเคราะห์น้อยในแถบหลักทั้งหมด[8] ผู้ค้นพบเวสตาคือนักดาราศาสตร์ชาวเยอรมันชื่อ เฮนริค วิลเฮล์ม โอลเบอร์ส ค้นพบเมื่อวันที่ 29 มีนาคม ค.ศ. 1807[1] และได้ตั้งชื่อตามเทพีผู้บริสุทธิ์ตามเทพปกรณัมโรมันซึ่งเป็นผู้ปกครองบ้านเรือนและเตาไฟ คือเทพีเวสตา
ภาพขาวดำของ 4 เวสตา จากยานดอว์น | ||||
การค้นพบ | ||||
---|---|---|---|---|
ค้นพบโดย: | เฮนริค วิลเฮล์ม โอลเบอร์ส | |||
ค้นพบเมื่อ: | 29 มีนาคม ค.ศ. 1807 | |||
ชื่ออื่น ๆ: | ไม่มี | |||
ชนิดของดาวเคราะห์น้อย: | แถบดาวเคราะห์น้อย ตระกูลเวสตา | |||
ลักษณะของวงโคจร[1] | ||||
ต้นยุคอ้างอิง 14 พฤษภาคม 2008 (JD 2454600.5) | ||||
ระยะจุดไกล ดวงอาทิตย์ที่สุด: | 384.72 Gm (2.572 AU) | |||
ระยะจุดใกล้ ดวงอาทิตย์ที่สุด: | 321.82 Gm (2.151 AU) | |||
กึ่งแกนเอก: | 353.268 Gm (2.361 AU) | |||
ความเยื้องศูนย์กลาง: | 0.089 17 | |||
คาบดาราคติ: | 1325.15 d (3.63 a) | |||
อัตราเร็วเฉลี่ย ในวงโคจร: | 19.34 km/s | |||
มุมกวาดเฉลี่ย: | 90.53° | |||
ความเอียง: | 7.135° | |||
ลองจิจูด ของจุดโหนดขึ้น: | 103.91° | |||
มุมของจุด ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด: | 149.83° | |||
ลักษณะทางกายภาพ | ||||
มิติ: | 578×560×458 km[2] | |||
มวล: | (2.67 ± 0.02) ×1020 kg[3] | |||
ความหนาแน่นเฉลี่ย: | 3.42 g/cm³[3] | |||
ความโน้มถ่วง ที่ศูนย์สูตร: | 0.22 m/s² | |||
ความเร็วหลุดพ้น: | 0.35 km/s | |||
คาบการหมุน รอบตัวเอง: | 0.222 6 d (5.342 h) [1][4] | |||
อัตราส่วนสะท้อน: | 0.423[5] | |||
อุณหภูมิ: | ต่ำสุด: 85 K (−188 °C) สูงสุด: 255 K (−18 °C) [6] | |||
อุณหภูมิพื้นผิว: |
| |||
ชนิดสเปกตรัม: | ดาวเคราะห์น้อยประเภท V[1][7] | |||
ขนาดเชิงมุม: | 0.64" ถึง 0.20" |
อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 "JPL Small-Body Database Browser: 4 Vesta". สืบค้นเมื่อ 2008-06-01.
- ↑ Thomas, P. C.; และคณะ (1997). "Impact excavation on asteroid 4 Vesta: Hubble Space Telescope results". Science. 277: 1492. doi:10.1126/science.277.5331.1492.
- ↑ 3.0 3.1 Baer, James; Chesley, Steven R. (2008). "Astrometric masses of 21 asteroids, and an integrated asteroid ephemeris" (PDF). Celestial Mechanics and Dynamical Astronomy. Springer Science+Business Media B.V. 2007. 100 (2008): 27–42. doi:10.1007/s10569-007-9103-8. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-02-24. สืบค้นเมื่อ 2008-11-11. เก็บถาวร 2011-02-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ↑ Harris, A. W.; Warner, B. D.; Pravec, P. (2006). "Asteroid Lightcurve Derived Data. EAR-A-5-DDR-DERIVED-LIGHTCURVE-V8.0". NASA Planetary Data System. สืบค้นเมื่อ 2007-03-15.
- ↑ Tedesco, E. F.; Noah, P. V.; Noah, M.; Price, S. D. (2004). "Infra-Red Astronomy Satellite (IRAS) Minor Planet Survey. IRAS-A-FPA-3-RDR-IMPS-V6.0". NASA Planetary Data System. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 April 2009. สืบค้นเมื่อ 15 March 2007.
- ↑ Mueller, T. G.; Metcalfe, L. (2001). "ISO and Asteroids" (PDF). European Space Agency (ESA) bulletin. 108: 38.
- ↑ Neese, C. (2005). "Asteroid Taxonomy EAR-A-5-DDR-TAXONOMY-V5.0". NASA Planetary Data System. สืบค้นเมื่อ 2007-03-15.
- ↑ Pitjeva, E. V. (2005). "High-Precision Ephemerides of Planets—EPM and Determination of Some Astronomical Constants" (PDF). Solar System Research. 39 (3): 176. doi:10.1007/s11208-005-0033-2. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2008-10-31. สืบค้นเมื่อ 2008-12-04.