เอเชียนคัพ 2023

การแข่งขันฟุตบอลนานาชาติ
(เปลี่ยนทางจาก 2023 AFC Asian Cup)

เอเชียนคัพ 2023 (อังกฤษ: 2023 AFC Asian Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลชายชิงแชมป์เอเชีย (เอเชียนคัพ) ครั้งที่ 18 ภายใต้การควบคุมของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย โดยกาตาร์ ได้รับเลือกให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันแทนสาธารณรัฐประชาชนจีนที่ได้ถอนตัวจากการเป็นเจ้าภาพเนื่องจากการการระบาดทั่วของโควิด-19 และนโยบายโควิดเป็นศูนย์ภายในประเทศ[4] กำหนดจัดการแข่งขันประมาณต้นปีของ พ.ศ. 2567[1] มีจำนวนทีมที่เข้าร่วมแข่งขัน 24 ทีมหลังจากการเพิ่มจำนวนในเอเชียนคัพ 2019 ซึ่งรวมทั้งเจ้าภาพด้วย[5] โดยมีกาตาร์เป็นทีมชนะเลิศครั้งก่อน

เอเชียนคัพ 2023
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพประเทศกาตาร์ กาตาร์
วันที่12 มกราคม – 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2024[1]
ทีม24
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติประเทศกาตาร์ กาตาร์ (สมัยที่ 2)
รองชนะเลิศธงชาติจอร์แดน จอร์แดน
อันดับที่ 3ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
อันดับที่ 4ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน51
จำนวนประตู132 (2.59 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม1,507,790 (29,565 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดประเทศกาตาร์ อักร็อม อะฟีฟ
(8 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมประเทศกาตาร์ อักร็อม อะฟีฟ[2]
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมประเทศกาตาร์ เมชาอัล บาร์ชัม[3]
2019
2027

การคัดเลือก

แก้
 
  ทีมที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย
  ทีมที่อาจผ่านเข้ารอบ
  ทีมที่ตกรอบ
  ทีมที่ไม่เข้าร่วมคัดเลือกหรือถอนตัว
  ทีมที่ไม่ใช่สมาชิกของเอเอฟซี

การแข่งขันรอบคัดเลือกสองรอบแรกจะจัดขึ้นพร้อมกับฟุตบอลโลก 2022 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย โดยกาตาร์เข้าร่วมแข่งขันรอบคัดเลือกรอบที่สองเพื่อให้ได้สิทธิ์ผ่านเข้ารอบสุดท้ายของเอเชียนคัพเท่านั้น[6] เนื่องจากพวกเขาผ่านเข้ารอบสุดท้ายของฟุตบอลโลกในฐานะเจ้าภาพแล้ว

ติมอร์-เลสเตถูกสั่งห้ามไม่ให้เข้าร่วมแข่งขัน เนื่องจากพบผู้เล่นที่ลงทะเบียนผิดกฎถึง 12 คนในการแข่งขันเอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือกและรายการอื่น[7] อย่างไรก็ตาม ฟีฟ่าไม่ได้แบนติมอร์-เลสเตในการแข่งขันฟุตบอลโลกรอบคัดเลือก ติมอร์-เลสเตจึงได้รับอนุญาตให้เข้าร่วมแข่งขันได้ แม้ว่าจะไม่ได้สิทธิ์ผ่านเข้ารอบเอเชียนคัพก็ตาม[8]

รอบคัดเลือกเริ่มแข่งขันตั้งแต่วันที่ 6 มิถุนายน ค.ศ. 2019 เพื่อให้ได้ 24 ทีมที่จะเข้าไปเล่นในรอบสุดท้าย ซึ่งจะแข่งขันในเดือนมิถุนายนถึงกรกฎาคม ค.ศ. 2023 โดยมีการเลื่อนจากกำหนดการเดิมในเดือนมกราคมถึงกุมภาพันธ์ เพื่อไม่ให้กระชั้นชิดกับการแข่งขันฟุตบอลโลก 2022 ที่กาตาร์ ซึ่งจัดขึ้นในเดือนพฤศจิกายนถึงธันวาคม ค.ศ. 2022 เกาหลีเหนือถอนตัวจากการแข่งขันเนื่องจากความกังวลเกี่ยวกับการระบาดทั่วของโควิด-19 ญี่ปุ่นเป็นชาติแรกที่ผ่านเข้าไปเล่นในรอบสุดท้ายหลังจากที่เอาชนะพม่า 10–0

ทีมที่ผ่านการคัดเลือก

แก้
ทีมชาติ วิธีการ
คัดเลือก
วันที่
ผ่านการคัดเลือก
ครั้งที่
ปรากฏตัว
ปรากฏตัว
ครั้งล่าสุด
ผลงานที่ดีที่สุด
ก่อนหน้านี้
  กาตาร์ ชนะเลิศ รอบที่ 2 กลุ่ม อี / เจ้าภาพ 7 มิถุนายน 2021 11 2019 ชนะเลิศ (2019)
  ญี่ปุ่น ชนะเลิศ รอบที่ 2 กลุ่ม เอฟ 28 พฤษภาคม 2021 10 2019 ชนะเลิศ (1992, 2000, 2004, 2011)
  ซีเรีย ชนะเลิศ รอบที่ 2 กลุ่ม เอ 7 มิถุนายน 2021 7 2019 รอบแบ่งกลุ่ม (1980, 1984, 1988, 1996, 2011, 2019)
  เกาหลีใต้ ชนะเลิศ รอบที่ 2 กลุ่ม เอช 9 มิถุนายน 2021 15 2019 ชนะเลิศ (1956, 1960)
  ออสเตรเลีย ชนะเลิศ รอบที่ 2 กลุ่ม บี 11 มิถุนายน 2021 5 2019 ชนะเลิศ (2015)
  อิหร่าน ชนะเลิศ รอบที่ 2 กลุ่ม ซี 15 มิถุนายน 2021 15 2019 ชนะเลิศ (1968, 1972, 1976)
  ซาอุดีอาระเบีย ชนะเลิศ รอบที่ 2 กลุ่ม ดี 15 มิถุนายน 2021 11 2019 ชนะเลิศ (1984, 1988, 1996)
  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ชนะเลิศ รอบที่ 2 กลุ่ม จี 15 มิถุนายน 2021 11 2019 รองชนะเลิศ (1996)
  จีน รองชนะเลิศ รอบที่ 2 กลุ่ม เอ 15 มิถุนายน 2021 13 2019 รองชนะเลิศ (1984, 2004)
  อิรัก รองชนะเลิศ รอบที่ 2 กลุ่ม ซี 15 มิถุนายน 2021 10 2019 ชนะเลิศ (2007)
  โอมาน รองชนะเลิศ รอบที่ 2 กลุ่ม อี 15 มิถุนายน 2021 5 2019 รอบ 16 ทีมสุดท้าย (2019)
  เวียดนาม รองชนะเลิศ รอบที่ 2 กลุ่ม จี 15 มิถุนายน 2021 5 2019 อันดับที่ 4 (1956[a], 1960[a])
  เลบานอน รองชนะเลิศ รอบที่ 2 กลุ่ม เอช 15 มิถุนายน 2021 3 2019 รอบแบ่งกลุ่ม (2000, 2019)
  จอร์แดน ชนะเลิศ รอบที่ 3 กลุ่มเอ 14 มิถุนายน 2022 5 2019 รอบ 16 ทีมสุดท้าย (2004, 2011)
  อินโดนีเซีย รองชนะเลิศ รอบที่ 3 กลุ่มเอ 14 มิถุนายน 2022 5 2007 รอบแบ่งกลุ่ม (1996, 2000, 2004, 2007)
  ปาเลสไตน์ ชนะเลิศ รอบที่ 3 กลุ่มบี 14 มิถุนายน 2022 3 2019 รอบแบ่งกลุ่ม (2015, 2019)
  อุซเบกิสถาน ชนะเลิศ รอบที่ 3 กลุ่มซี 14 มิถุนายน 2022 8 2019 อันดับที่ 4 (2011)
  ไทย รองชนะเลิศ รอบที่ 3 กลุ่มซี 14 มิถุนายน 2022 8 2019 อันดับที่ 3 (1972)
  อินเดีย ชนะเลิศ รอบที่ 3 กลุ่มดี 14 มิถุนายน 2022 5 2019 รองชนะเลิศ (1964)
  ฮ่องกง รองชนะเลิศ รอบที่ 3 กลุ่มดี 14 มิถุนายน 2022 4 1968 อันดับที่ 3 (1956)
  บาห์เรน ชนะเลิศ รอบที่ 3 กลุ่มอี 14 มิถุนายน 2022 7 2019 อันดับที่ 4 (2004)
  มาเลเซีย รองชนะเลิศ รอบที่ 3 กลุ่มอี 14 มิถุนายน 2022 4 2007 รอบแบ่งกลุ่ม (1976, 1980, 2007)
  ทาจิกิสถาน ชนะเลิศ รอบที่ 3 กลุ่มเอฟ 14 มิถุนายน 2022 1 ครั้งแรก
  คีร์กีซสถาน รองชนะเลิศ รอบที่ 3 กลุ่มเอฟ 14 มิถุนายน 2022 2 2019 รอบ 16 ทีมสุดท้าย (2019)
  1. 1.0 1.1 เข้าร่วมแข่งขันในชื่อ   เวียดนามใต้

การจับสลาก

แก้

การจับสลากได้จัดขึ้นใน คาตารา โอเปรา เฮ้าส์ ใน โดฮา เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 2023 ณ เวลา 14:00 AST (UTC+3).[9]

ตั้งแต่เดือนเมษายน ค.ศ. 2023 อันดับโลกฟีฟ่า[10]
โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 4
  กาตาร์ (61) (เจ้าภาพ)
  ญี่ปุ่น (20)
  อิหร่าน (24)
  เกาหลีใต้ (27)
  ออสเตรเลีย (29)
  ซาอุดีอาระเบีย (54)
  อิรัก (67)
  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (72)
  โอมาน (73)
  อุซเบกิสถาน (74)
  จีน (81)
  จอร์แดน (84)
  บาห์เรน (85)
  ซีเรีย (90)
  ปาเลสไตน์ (93)
  เวียดนาม (95)
  คีร์กีซสถาน (96)
  เลบานอน (99)
  อินเดีย (101)
  ทาจิกิสถาน (109)
  ไทย (114)
  มาเลเซีย (138)
  ฮ่องกง (147)
  อินโดนีเซีย (149)

ผลการจับสลาก

แก้

แต่ละทีมได้ทำการจับสลากติดต่อกันกลายเป็นกลุ่ม เอ ถึง เอฟ เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์เอเอฟซี เอเชียนคัพ ทีมที่มาจากโถที่ต่ำที่สุดถูกจับฉลากก่อนแต่ไม่ได้อยู่ในตำแหน่งของกลุ่มของพวกเขาตามด้วยลำดับหมายเลขของรอบแบ่งกลุ่มเหมือนที่เกิดขึ้นในรุ่นก่อนหน้านี้ ทีมจากโถที่ 1 ถูกกำหนดให้อยู่ในตำแหน่งแรกของกลุ่ม ในขณะที่ตำแหน่งถัดไปของทีมอื่นๆ ทั้งหมดจะถูกจับแยกจากโถที่ 4 ไปยังโถที่ 2 (เพื่อจุดประสงค์ในการกำหนดตารางการแข่งขันในแต่ละกลุ่ม)

การจับสลากมีผลออกมาในกลุ่มด้านล่างนี้:

กลุ่ม เอ
Pos ทีม
เอ1   กาตาร์
เอ2   จีน
เอ3   ทาจิกิสถาน
เอ4   เลบานอน
กลุ่ม บี
Pos ทีม
บี1   ออสเตรเลีย
บี2   อุซเบกิสถาน
บี3   ซีเรีย
บี4   อินเดีย
กลุ่ม ซี
Pos ทีม
ซี1   อิหร่าน
ซี2   สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
ซี3   ฮ่องกง
ซี4   ปาเลสไตน์
กลุ่ม ดี
Pos ทีม
ดี1   ญี่ปุ่น
ดี2   อินโดนีเซีย
ดี3   อิรัก
ดี4   เวียดนาม
กลุ่ม อี
Pos ทีม
อี1   เกาหลีใต้
อี2   มาเลเซีย
อี3   จอร์แดน
อี4   บาห์เรน
กลุ่ม เอฟ
Pos ทีม
เอฟ1   ซาอุดีอาระเบีย
เอฟ2   ไทย
เอฟ3   คีร์กีซสถาน
เอฟ4   โอมาน

การทำหน้าที่

แก้
ผู้ตัดสิน

รอบแบ่งกลุ่ม

แก้

เวลาทั้งหมดคือเวลาท้องถิ่น, AST (UTC+3).

กลุ่ม เอ

แก้
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   กาตาร์ 3 3 0 0 5 0 +5 9 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2   ทาจิกิสถาน 3 1 1 1 2 2 0 4
3   จีน 3 0 2 1 0 1 −1 2
4   เลบานอน 3 0 1 2 1 5 −4 1
แหล่งที่มา : AFC
กาตาร์  3–0  เลบานอน
รายงาน

เลบานอน  0–0  จีน
รายงาน

กลุ่ม บี

แก้
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   ออสเตรเลีย 3 2 1 0 4 1 +3 7 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2   อุซเบกิสถาน 3 1 2 0 4 1 +3 5
3   ซีเรีย 3 1 1 1 1 1 0 4
4   อินเดีย 3 0 0 3 0 6 −6 0
แหล่งที่มา : AFC


กลุ่ม ซี

แก้
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   อิหร่าน 3 3 0 0 7 2 +5 9 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2   สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 3 1 1 1 5 4 +1 4
3   ปาเลสไตน์ 3 1 1 1 5 5 0 4
4   ฮ่องกง 3 0 0 3 1 7 −6 0
แหล่งที่มา : AFC


กลุ่ม ดี

แก้
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   อิรัก 3 3 0 0 8 4 +4 9 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2   ญี่ปุ่น 3 2 0 1 8 5 +3 6
3   อินโดนีเซีย 3 1 0 2 3 6 −3 3
4   เวียดนาม 3 0 0 3 4 8 −4 0
แหล่งที่มา : AFC


กลุ่ม อี

แก้
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   บาห์เรน 3 2 0 1 3 3 0 6 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2   เกาหลีใต้ 3 1 2 0 8 6 +2 5
3   จอร์แดน 3 1 1 1 6 3 +3 4
4   มาเลเซีย 3 0 1 2 3 8 −5 1
แหล่งที่มา : AFC

จอร์แดน  2–2  เกาหลีใต้
รายงาน

กลุ่ม เอฟ

แก้
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   ซาอุดีอาระเบีย 3 2 1 0 4 1 +3 7 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2   ไทย 3 1 2 0 2 0 +2 5
3   โอมาน 3 0 2 1 2 3 −1 2
4   คีร์กีซสถาน 3 0 1 2 1 5 −4 1
แหล่งที่มา : AFC


ตารางคะแนนของทีมอันดับที่ 3

แก้

ทีมอันดับที่สามที่ดีที่สุดสี่ทีมจากหกกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก พร้อมด้วยทีมชนะเลิศหกกลุ่มและหกทีมรองชนะเลิศ.


อันดับ กลุ่ม ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 อี   จอร์แดน 3 1 1 1 6 3 +3 4 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2 ซี   ปาเลสไตน์ 3 1 1 1 5 5 0 4
3 บี   ซีเรีย 3 1 1 1 1 1 0 4
4 ดี   อินโดนีเซีย 3 1 0 2 3 6 −3 3
5 เอฟ   โอมาน 3 0 2 1 2 3 −1 2
6 เอ   จีน 3 0 2 1 0 1 −1 2
แหล่งที่มา : AFC
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตู; 3) จำนวนประตูที่ทำได้; 4) คะแนนรวมทางวินัยที่ต่ำสุด; 5) จับสลาก.[11]

รอบแพ้คัดออก

แก้

สายการแข่งขัน

แก้
 
รอบ 16 ทีมสุดท้ายรอบ 8 ทีมสุดท้ายรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
              
 
28 มกราคม ค.ศ. 2024 – อัรร็อยยาน (อะห์หมัดบินอะลี)
 
 
  ทาจิกิสถาน
(ลูกโทษ)
1 (5)
 
2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2024 – อัรร็อยยาน (อะห์หมัดบินอะลี)
 
  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์1 (3)
 
  ทาจิกิสถาน0
 
29 มกราคม ค.ศ. 2024 – อัรร็อยยาน (เคาะลีฟะฮ์)
 
  จอร์แดน1
 
  อิรัก2
 
6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2024 – อัรร็อยยาน (อะห์หมัดบินอะลี)
 
  จอร์แดน3
 
  จอร์แดน2
 
28 มกราคม ค.ศ. 2024 – อัรร็อยยาน (จัสซิมบินฮะหมัด)
 
  เกาหลีใต้0
 
  ออสเตรเลีย4
 
2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2024 – อัลเวาะเคราะห์
 
  อินโดนีเซีย0
 
  ออสเตรเลีย1
 
30 มกราคม ค.ศ. 2024 – อัรร็อยยาน (การศึกษา)
 
  เกาหลีใต้
(ต่อเวลา)
2
 
  ซาอุดีอาระเบีย1 (2)
 
10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2024 – ลูซัยล์
 
  เกาหลีใต้
(ลูกโทษ)
1 (4)
 
  จอร์แดน1
 
31 มกราคม ค.ศ. 2024 – โดฮา (อับดุลเลาะฮ์บินเคาะลีฟะฮ์)
 
  กาตาร์3
 
  อิหร่าน
(ลูกโทษ)
1 (5)
 
3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2024 – อัรร็อยยาน (การศึกษา)
 
  ซีเรีย1 (3)
 
  อิหร่าน2
 
31 มกราคม ค.ศ. 2024 – โดฮา (อัษษุมามะฮ์)
 
  ญี่ปุ่น1
 
  บาห์เรน1
 
7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2024 – โดฮา (อัษษุมามะฮ์)
 
  ญี่ปุ่น3
 
  อิหร่าน2
 
29 มกราคม ค.ศ. 2024 – อัลคอร์
 
  กาตาร์3
 
  กาตาร์2
 
3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2024 – อัลคอร์
 
  ปาเลสไตน์1
 
  กาตาร์
(ลูกโทษ)
1 (3)
 
30 มกราคม ค.ศ. 2024 – อัลเวาะเคราะห์
 
  อุซเบกิสถาน1 (2)
 
  อุซเบกิสถาน2
 
 
  ไทย1
 

เวลาทั้งหมดคือเวลาท้องถิ่น, AST (UTC+3).

รอบ 16 ทีมสุดท้าย

แก้






บาห์เรน  1–3  ญี่ปุ่น
รายงาน

รอบ 8 ทีมสุดท้าย

แก้
ทาจิกิสถาน  0–1  จอร์แดน
รายงาน



รอบรองชนะเลิศ

แก้

รอบชิงชนะเลิศ

แก้
จอร์แดน  1–3  กาตาร์
อาล-ไนมัต   67' รายงาน อะฟีฟ   22' (ลูกโทษ)73' (ลูกโทษ)90+5' (ลูกโทษ)

สถิติ

แก้

ผู้ทำประตูสูงสุด

แก้

มีการทำประตู 132 ประตู จากการแข่งขัน 51 นัด เฉลี่ย 2.59 ประตูต่อนัด


การทำประตู 8 ครั้ง

การทำประตู 6 ครั้ง

การทำประตู 4 ครั้ง

การทำประตู 3 ครั้ง

การทำประตู 2 ครั้ง

การทำประตู 1 ครั้ง