ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนอเมริกาใต้

(เปลี่ยนทางจาก 2018 FIFA World Cup qualification (CONMEBOL))

การแข่งขันฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนอเมริกาใต้ เป็นการแข่งขันฟุตบอลในทวีปอเมริกาใต้เพื่อคัดเลือกทีมฟุตบอลเข้าแข่งขันฟุตบอลโลก 2018 รอบสุดท้ายที่ประเทศรัสเซีย โดยโซนอเมริกาใต้ได้รับโควต้าทั้งหมด 4 ทีม กับอีก 1 ทีมที่มีสิทธิ์ไปแข่งรอบเพลย์ออฟกับทีมจากโซนอื่น ๆ[1]

ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนอเมริกาใต้
รายละเอียดการแข่งขัน
วันที่8 ตุลาคม 2558 – 10 ตุลาคม 2560
ทีม10 (จาก 1 สมาพันธ์)
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน90
จำนวนประตู242 (2.69 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม2,985,794 (33,175 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดอุรุกวัย เอดินซอน กาบานี (10 ประตู)
2014
2022
ปรับปรุงสถิติทั้งหมด ณ วันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2560

ตารางการแข่งขัน แก้

4 นัดในปี 2558 8 นัดในปี 2559 และ 6 นัดในปี 2560 รวมทั้งสิ้น 18 นัด[2]

2558
นัด วันที่
นัดที่ 1 5–13 ตุลาคม 2558
นัดที่ 2
นัดที่ 3 9–17 พฤศจิกายน 2558
นัดที่ 4
2559
นัด วันที่
นัดที่ 5 21–29 มีนาคม 2559
นัดที่ 6
นัดที่ 7 29 สิงหาคม – 6 กันยายน 2559
นัดที่ 8
นัดที่ 9 3–11 ตุลาคม 2559
นัดที่ 10
นัดที่ 11 7–15 พฤศจิกายน 2559
นัดที่ 12
2560
นัด วันที่
นัดที่ 13 20–28 มีนาคม 2560
นัดที่ 14
นัดที่ 15 28 สิงหาคม – 5 กันยายน 2560
นัดที่ 16
นัดที่ 17 2–10 ตุลาคม 2560
นัดที่ 18

การแข่งขันเพลย์ออฟกับทีมจากโซนทวีปอื่น มีโปรแกรมลงเล่นระหว่างวันที่ 6–14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560[3]

ตารางคะแนน แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ                    
1   บราซิล 18 12 5 1 41 11 +30 41 ได้สิทธิ์เข้าไปเล่น ฟุตบอลโลก 2018 2–2 3–0 2–1 3–0 3–0 3–0 2–0 5–0 3–1
2   อุรุกวัย 18 9 4 5 32 20 +12 31 1–4 0–0 3–0 1–0 3–0 4–0 2–1 4–2 3–0
3   อาร์เจนตินา 18 7 7 4 19 16 +3 28 1–1 1–0 3–0 0–0 1–0 0–1 0–2 2–0 1–1
4   โคลอมเบีย 18 7 6 5 21 19 +2 27 1–1 2–2 0–1 2–0 0–0 1–2 3–1 1–0 2–0
5   เปรู 18 7 5 6 27 26 +1 26 ผ่านเข้าไปเล่น เพลย์ออฟกับทีมจากทวีปอื่น 0–2 2–1 2–2 1–1 3–4 1–0 2–1 2–1 2–2
6   ชิลี 18 8 2 8 26 27 −1 26 2–0 3–1 1–2 1–1 2–1 0–3 2–1 3–0[a] 3–1
7   ปารากวัย 18 7 3 8 19 25 −6 24 2–2 1–2 0–0 0–1 1–4 2–1 2–1 2–1 0–1
8   เอกวาดอร์ 18 6 2 10 26 29 −3 20 0–3 2–1 1–3 0–2 1–2 3–0 2–2 2–0 3–0
9   โบลิเวีย 18 4 2 12 16 38 −22 14 0–0 0–2 2–0 2–3 0–3[b] 1–0 1–0 2–2 4–2
10   เวเนซุเอลา 18 2 6 10 19 35 −16 12 0–2 0–0 2–2 0–0 2–2 1–4 0–1 1–3 5–0
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขการผ่านเข้ารอบ
หมายเหตุ :
  1. BOL_PER
  2. FIFA awarded Peru and Chile 3–0 wins as a result of Bolivia fielding the ineligible player Nelson Cabrera. Originally Bolivia had defeated Peru 2–0 and drawn 0–0 with Chile. Nelson Cabrera had previously represented Paraguay and did not meet eligibility rules.[4]

นัด แก้

นัดที่ 1 แก้





นัดที่ 2 แก้





นัดที่ 3 แก้





นัดที่ 4 แก้





นัดที่ 5 แก้





นัดที่ 6 แก้





นัดที่ 7 แก้





นัดที่ 8 แก้





นัดที่ 9 แก้





นัดที่ 10 แก้





นัดที่ 11 แก้





นัดที่ 12 แก้





นัดที่ 13 แก้





นัดที่ 14 แก้





นัดที่ 15 แก้





นัดที่ 16 แก้





นัดที่ 17 แก้





นัดที่ 18 แก้





รอบเพลย์ออฟระหว่างทีมจากทวีปอื่น แก้

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ แก้

ด้านล่างนี้คือทีมที่มาจากคอนเมบอลได้สิทธิ์ผ่านเข้าไปเล่นในรอบสุดท้าย.

ทีม เข้ารอบในฐานะ ผ่านเข้ารอบเมื่อวันที่ การลงเล่นในทัวร์นาเมนต์ครั้งที่ผ่านมา1
  บราซิล ชนะเลิศ 28 มีนาคม 2560 20 (1930, 1934, 1938, 1950, 1954, 1958, 1962, 1966, 1970, 1974,
1978, 1982, 1986, 1990, 1994, 1998, 2002, 2006, 2010, 2014)
  อุรุกวัย รองชนะเลิศ 10 ตุลาคม 2560 11 (1930', 1950, 1954, 1962, 1966, 1970, 1974, 1986, 1990, 2002,
2010, 2014)
  อาร์เจนตินา อันดับที่ 3 10 ตุลาคม 2560 16 (1930, 1934, 1958, 1962, 1966, 1974, 1978, 1982, 1986, 1990,
1994, 1998, 2002, 2006, 2010, 2014)
  โคลอมเบีย อันดับที่ 4 10 ตุลาคม 2560 5 (1962, 1990, 1994, 1998, 2014)
1 ตัวหนา สื่อถึงแชมเปียนสำหรับปีนั้น. ตัวเอียง สื่อถึงเจ้าภาพสำหรับปีนั้น.

อันดับดาวซัลโว แก้

การแข่งขันทั้งหมดมี 242 ประตูที่ทำได้ใน 90 นัด, สำหรับค่าเฉลี่ย 2.69 ประตูต่อนัด.

10 ประตู
7 ประตู
6 ประตู
5 ประตู
4 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู
การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ประตู

หมายเหตุ แก้

  1. แมตช์ระหว่าง อาร์เจนตินา และ บราซิล เดิมทีมีกำหนดการแข่งขันที่จะต้องลงเล่นในวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558, 21:00 UTC−3, แต่ถูกเลื่อนออกไปในวันรุ่งขึ้นเนื่องมาจากสภาพอากาศที่เลวร้าย.[5]
  2. FIFA awarded Peru a 3–0 win as a result of Bolivia fielding the ineligible player Nelson Cabrera, after Bolivia had defeated Peru 2–0. Nelson Cabrera had previously represented Paraguay and did not meet eligibility rules.[4]
  3. FIFA awarded Chile a 3–0 win as a result of Bolivia fielding the ineligible player Nelson Cabrera, after the match had finished 0–0. Nelson Cabrera had previously represented Paraguay and did not meet eligibility rules.[4]
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 ชิลีได้ถูกลงโทษโดยฟีฟ่าที่ลงเล่นสองนัดแมตช์เหย้า (ในนัดที่พบกับ โบลิเวีย ในวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2559 และนัดที่พบกับ เปรู ในวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2559) โดยต้องออกไปเยือนจาก เอสตาดิโอ นาซิโอนัล ชูลิโอ มาร์ตีเนซ ปราดาโนส, ซานเตียโก เนื่องมาจากการร้องเพลงเย้ยหยันดูถูกปรักปรำโดยเหล่าแฟนบอล, กับการติดโทษแบนที่เป็นไปได้ในจำนวนสองนัดขึ้นอยู่กับระยะเวลาการคุมประพฤติสองปี.[6]

อ้างอิง แก้

  1. "Current allocation of FIFA World Cup™ confederation slots maintained". FIFA.com. 30 พฤษภาคม 2558. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-04-17. สืบค้นเมื่อ 2016-03-26.
  2. "South American teams know the roadmap to reach Russia-2018". CONMEBOL.com. July 25, 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2016-03-26.
  3. "FIFA Calendar". FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-04-24. สืบค้นเมื่อ 2016-03-26.
  4. 4.0 4.1 4.2 "Bolivia sanctioned for fielding ineligible player". FIFA.com. 1 November 2016.
  5. "Argentina v Brazil postponed due to wet weather". goal.com. 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  6. "FIFA sanctions several football associations after discriminatory chants by fans". FIFA.com. 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2559. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-06-25. สืบค้นเมื่อ 2016-09-02. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น แก้