ไฮโดรเจนฟลูออไรด์

ไฮโดรเจนฟลูออไรด์ (อังกฤษ: hydrogen fluoride) เป็นสารประกอบเคมีที่มีสูตรเคมีคือ HF ลักษณะเป็นแก๊สหรือของเหลวไม่มีสี ไฮโดรเจนฟลูออไรด์เป็นแหล่งฟลูออรีนหลักในทางอุตสาหกรรม มักใช้ในรูปสารละลายในน้ำคือกรดไฮโดรฟลูออริก ไฮโดรเจนฟลูออไรด์เป็นวัตถุดิบสำคัญในการเตรียมสารประกอบหลายชนิดที่ใช้ในเภสัชอุตสาหกรรมและพอลิเมอร์ เช่น พอลิเตตระฟลูออโรเอทิลีน (PTFE) และเป็นส่วนประกอบหนึ่งของกรดยวดยิ่ง (superacid) ที่ใช้ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี[4]

ไฮโดรเจนฟลูออไรด์
ชื่อ
ชื่ออื่น
Fluorane
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ChEBI
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.028.759 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
KEGG
RTECS number
  • MW7875000
UNII
UN number 1052
  • InChI=1S/FH/h1H checkY
    Key: KRHYYFGTRYWZRS-UHFFFAOYSA-N checkY
  • InChI=1/FH/h1H
    Key: KRHYYFGTRYWZRS-UHFFFAOYAC
คุณสมบัติ
HF
มวลโมเลกุล 20.006 g·mol−1
ลักษณะทางกายภาพ แก๊สไม่มีสี หรือของเหลวไม่มีสี (ต่ำกว่า 19.5 °C)
กลิ่น ไม่น่าพึงพอใจ
ความหนาแน่น แก๊ส: 1.15 g/L (25 °C)
ของเหลว: 0.99 g/mL (19.5 °C)
ของแข็ง: 1.663 g/mL (–125 °C)
จุดหลอมเหลว −83.6 องศาเซลเซียส (−118.5 องศาฟาเรนไฮต์; 189.6 เคลวิน)
จุดเดือด 19.5 องศาเซลเซียส (67.1 องศาฟาเรนไฮต์; 292.6 เคลวิน)
ผสมเข้ากันได้ (ของเหลว)
ความดันไอ 783 mmHg (20 °C)[1]
pKa 3.17 (ในน้ำ),

15 (ใน DMSO) [2]

กรด Fluoronium
เบส Fluoride
1.00001
โครงสร้าง
เส้นตรง
1.86 D
อุณหเคมี
Std molar
entropy
(S298)
8.687 J/g K (แก๊ส)
−13.66 kJ/g (แก๊ส)
−14.99 kJ/g (ของเหลว)
ความอันตราย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHS/OSH):
อันตรายหลัก
เป็นพิษมาก มีฤทธิ์กัดกร่อน ระคายเคือง
GHS labelling:
The corrosion pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS) The skull-and-crossbones pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)
อันตราย
H300+H310+H330, H314
P260, P262, P264, P270, P271, P280, P284, P301+P310, P301+P330+P331, P302+P350, P303+P361+P353, P304+P340, P305+P351+P338, P310, P320, P321, P322, P330, P361, P363, P403+P233, P405, P501
NFPA 704 (fire diamond)
จุดวาบไฟ ไม่มี
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC):
1276 ppm (หนู, 1 ชั่วโมง)
1774 ppm (ลิง, 1 ชั่วโมง)
4327 ppm (หนูตะเภา, 15 นาที)[3]
313 ppm (กระต่าย, 7 ชั่วโมง)[3]
NIOSH (US health exposure limits):
PEL (Permissible)
TWA 3 ppm[1]
REL (Recommended)
TWA 3 ppm (2.5 mg/m3) C 6 ppm (5 mg/m3) [15-minute][1]
IDLH (Immediate danger)
30 ppm[1]
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
แอนไอออนอื่น ๆ
ไฮโดรเจนคลอไรด์
ไฮโดรเจนโบรไมด์
ไฮโดรเจนไอโอไดด์
ไฮโดรเจนแอสทาไทด์
แคทไอออนอื่น ๆ
โซเดียมฟลูออไรด์
โพแทสเซียมฟลูออไรด์
รูบิเดียมฟลูออไรด์
ซีเซียมฟลูออไรด์
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
น้ำ
แอมโมเนีย
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

ไฮโดรเจนฟลูออไรด์เป็นแก๊สอันตรายอย่างยิ่ง เมื่อสัมผัสกับความชื้นจะแปรสภาพเป็นกรดไฮโดรฟลูออริกที่มีฤทธิ์กัดกร่อน[5] ไฮโดรเจนฟลูออไรด์ระคายเคืองต่อดวงตาเพราะสามารถกัดกร่อนกระจกตาอย่างรวดเร็ว[6]

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards. "#0334". National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
  2. Evans, D. A. "pKa's of Inorganic and Oxo-Acids" (PDF). สืบค้นเมื่อ June 19, 2020.
  3. 3.0 3.1 "Hydrogen fluoride". Immediately Dangerous to Life and Health Concentrations (IDLH). National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
  4. "The alien nature of the superacid". Alfa Aesar. January 9, 2018. สืบค้นเมื่อ September 2, 2021.
  5. "Hydrogen Fluoride and Hydrofluoric Acid (HF) - Toxicological Overview" (PDF). GOV.UK. สืบค้นเมื่อ September 2, 2021.
  6. "Hydrogen Fluoride Protocol" (PDF). Environmental Health & Safety - University of Toronto. สืบค้นเมื่อ September 3, 2021.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้