ไฮแจ็ค (วงดนตรีไทย)
ไฮแจ็ค (อังกฤษ: Hi-Jack) เป็นศิลปินกลุ่มบอยแบนด์และแร็ปร็อกค่ายอาร์เอส โดยออกผลงานตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. 2536[1] - พ.ศ. 2537
ไฮแจ็ค | |
---|---|
อัลบั้ม เล่นเจ็บเจ็บ | |
ข้อมูลพื้นฐาน | |
ที่เกิด | กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย |
แนวเพลง | ป๊อปแดนซ์ แร็ปร็อก |
ช่วงปี | พ.ศ. 2536 - 2537 |
ค่ายเพลง | อาร์.เอส.โปรโมชั่น |
สมาชิก | จตุรงค์ โกลิมาศ (เอ๊กซ์) พีรพันธุ์ กุมารสิทธิ์ (ผี) ณฐวัฒน์ ไข่มุกด์ (ต๋อย) พิชัย อูนากุล (เจมส์) |
ประวัติ
แก้ไฮแจ็ค เป็นกลุ่มบอยแบนด์ในสังกัด อาร์.เอส. โปรโมชั่น ในยุค 90s มีชื่อเสียงทางด้านการเต้นและทางด้านแนวแร็ปร็อค เพราะสมาชิกทั้ง 4 คนเคยเป็นนักเต้นมาก่อน และถือว่าเป็นบอยแบนด์กลุ่มแรกด้วยของทางสังกัด และได้รับความนิยมในยุคนั้น[1]
ไฮแจ็คได้ออกสตูดิโออัลบั้มมาทั้งสิ้น 2 อัลบั้ม และอัลบั้มพิเศษอีก 1 อัลบั้ม ระหว่างทำอัลบั้มชุดที่ 3 ผี พีรพันธุ์ ซึ่งเป็นหนึ่งในสมาชิก ได้ประสบอุบัติเหตุถึงขั้นบาดเจ็บสาหัสกลายเป็นอาการเรื้อรังทำให้ทางวงต้องยุติการทำเพลงชุดนี้และแยกวงไปในที่สุด[2]
ในช่วงขณะที่โด่งดังอยู่นั้น ไฮแจ็คได้รับการสัมภาษณ์จากสื่อมวลชนต่างประเทศ คือ เอ็นเอชเค ของญี่ปุ่น และเอ็มทีวี ของสิงคโปร์ โดยถูกหยิบยกไปเทียบกับโชเนนไต บอยแบนด์ร่วมสมัยของญี่ปุ่น [3]
"เอ็กซ์" ยังคงมีผลงานบันเทิงอยู่บ้าง โดยมีผลงานคือ การรับบทตัวร้ายและตัวประกอบในละครโทรทัศน์เรื่องต่าง ๆ "ผี" ผันตัวไปเป็นโปรดิวเซอร์และเปิดโรงเรียนสอนร้องเพลงและเต้น[2] ส่วน "เจมส์" เป็นโค้ชนักแสดง และ "ต๋อย" ทำธุรกิจร้านอาหาร [4][5] ต่อมา ปี 2017 ไฮแจ็คได้กลับมารวมอีกครั้ง ในรอบ 8 ปี หลังจากรายการคืนนี้วันนั้น โดยออกรายการ A-Pop ช่วง ปล.ด้วยรักและคิดถึง ทางช่องอมรินทร์ทีวี[6]
สมาชิก
แก้ชื่อ-นามสกุล | ชื่อเล่น | เชื้อชาติ | วันเกิด | ระยะเวลา |
---|---|---|---|---|
ณฐวัฒน์ ไข่มุกด์
(แต่เดิมชื่อ อภิชาติ) |
ต๋อย | ไทย |
4 ธันวาคม พ.ศ. 2510 | 2536-2537,2558,2560 |
เพชรพลัง อูนากูล
(ชื่อเดิม พิชัย อูนากูล) |
เจมส์ | ไทย-อเมริกัน - |
5 มีนาคม พ.ศ. 2511 | 2536-2537,2560 |
จตุรงค์ โกลิมาศ | เอ็กซ์ | ไทย |
28 ตุลาคม พ.ศ. 2512 | 2536-2537,2558,2560 |
พีรพันธุ์ กุมารสิทธิ์ | ผี | ไทย |
22 เมษายน พ.ศ. 2513 | 2536-2537,2558,2560 |
ผลงานเพลง
แก้สตูดิโออัลบั้ม
แก้รายละเอียดอัลบั้ม | รายชื่อเพลง |
---|---|
อัลบั้ม
|
|
อัลบั้ม
|
|
อัลบั้มรวมเพลง
แก้- รวมฮิตเจ็บ ๆ (2537)
ผลงานร่วมกับศิลปินคนอึ่น
แก้- 2536-2537 อาร์เอส คาราโอเกะ
- 2536-2537 รวมฮิตดาวแดง
- 2536 Gold 1993 2537 Dance Fever
- 2537 Gold 1994
- 2537 JAM HITS 2
- 2538 RS HOT MIX
- 2539 15 ปี อาร์เอส โปรโมชั่น
- 2539 อาร์เอส เบสท์ ฮิต
- 2539 รวมเพลง ห่วงใยเหลือเกิน
- 2539 Buddy Hits ไฮแจ็ค & แร็พเตอร์
- 2539 The Best Of RS UNPLUGGED ดนตรีนอกเวลา
- 2540 PARTY MIX 2 NON STOP
- 2540 Love Album
- 2540 RS Save hits
- 2541 Big Bonus Big Jam
- 2546 Hits Hunter
- 2548 Golden Hits 1990 - 1999
- 2549 ลืมได้ไง ชุด 2
- 2550 อดีตรักวัยเรียน
- 2551 Love History
- 2552 Gold 1993-1994
- 2552 Eternal Dance
- 2552 Play Back
- 2552 Song Hits
- 2552 Love Replay
- 2552 Best Memory
- 2552 Best Acoustica
- 2552 Hits Replay
- 2552 Love Memory
- 2553 50 First Dates
- 2554 Love 1990-1999
- 2554 Hitz Forever
- 2554 คนไทยไม่ทิ้งกัน
- 2554 ความรัก ความหวัง กำลังใจ
- 2554 RS Best Collection Love Acoustic
- 2555 ซุปตาร์ ปาร์ตี้
- 2555 มันส์จัง
- 2555 คิดถึงจัง
- 2555 Love Gallery
- 2555 พลังใจพลังไทย
- 2555 Acoustic In Love
- 2555 Acoustic Like ใจเธอรู้ดี
- 2555 หัวใจปลายปากกา เราสามคน
- 2556 Good Old Day คืนสู่เหย้า
- 2556 หัวใจปลายปากกา รอยร้าว
- 2556 พรุ่งนี้ต้องดีกว่า
- 2556 คนไทยใจไม่แพ้
- 2557 เพลงของเสือ
- 2557 50 Hit Story
- 2557 50 Hit Story ดังข้ามยุค
- 2557 Retro Party เพลงมันส์ Non-stop
- 2557 50 Hit Story ดังไม่เลิก
- 2557 50 Hit Story ฮิตข้ามยุค
- 2558 Big Boy Band
- 2558 THE REPLAY
- 2558 Fun Unlimited
อัลบั้มพิเศษ
แก้- R.S. Unplugged (เมษายน พ.ศ. 2537)
คอนเสิร์ตเดี่ยว
แก้- คอนเสิร์ตสลัดอากาศขอเต้น 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2536 เอ็มบีเค ฮอลล์ เอ็มบีเคเซ็นเตอร์ (สมชาย เข็มกลัด เป็นแขกรับเชิญ)
- รายการ 7 สีคอนเสิร์ต ไฮแจ็ค พ.ศ. 2536 ลานเพลิน
- คอนเสิร์ต ไฮแจ็ค โลกดนตรี พ.ศ. 2536 - 2537 สนามป่า
- Magic Dance คอนเสิร์ต ไฮแจ็คเต้นลวงตา 26 มีนาคม พ.ศ. 2537 เอ็มบีเค ฮอลล์ เอ็มบีเคเซ็นเตอร์ (โชคชัย เจริญสุข เป็นแขกรับเชิญ)
คอนเสิร์ตรวมศิลปิน
แก้- คอนเสิร์ต ทู ติดมัน (2535) สนามกีฬากองทัพบก (ไฮแจ็ค เป็นแขกรับเชิญ)
- RS. Star Club Meeting Concert (8 ม.ค. 2537) เอ็มบีเค ฮอลล์
- คอนเสิร์ตประสานใจสู้ภัยเอดส์ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี (1 ธ.ค. 2536 - 19 ก.พ. 2537) สนามกีฬากองทัพบก, เซียงใหม่, เซียงราย, ลำปาง, นครราชสีมา, ร้อยเอ็ด, ขอนแก่น, กรุงเทพ
- คอนเสิร์ตนอกเวลา RS Unplugged (28 พ.ค. 2537) อินดอร์ สเตเดี้ยม หัวหมาก
- Raptor Concert ตอน จอนนี่แอนด์หลุยส์ตะลุยไฮแจ็ค 24 กันยายน 2537 เอ็มบีเค ฮอลล์ เอ็มบีเคเซ็นเตอร์
ผลงานการแสดง
แก้งานภาพยนตร์
แก้- รองต๊ะแล่บแปล๊บ (พ.ศ. 2535)
ผลงานเพลงที่มีชื่อเสียง
แก้- ไฟตกน้ำ
- ขอบอกเอง
- อยู่ในมือเธอ
- ขอเต้น
- ถูกใจโก๋
- เล่นเจ็บเจ็บ
- แล้วจะรู้สึก
- ไม่เก็ท
- อย่าคิดว่าเธอไม่มีใคร (ร้องคู่กับ แร็พเตอร์)
อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 BigChild (Jun 9, 2015). "แฟนพันธุ์แท้ - บอยแบนด์ & เกิร์ลแก๊ง 07ก.ค. 2006". แฟนพันธุ์แท้ 2006.
- ↑ 2.0 2.1 กุหลาบสีเงิน (May 3, 2015). "star Retro : 'ผี ไฮแจ็ค' ผู้อยู่เบื้องหลังงานเต้น ของ 'ทัช'และ 'เจ' 2 ค่ายในเวลาเดียวกัน". แนวหน้า. สืบค้นเมื่อ September 3, 2016.[ลิงก์เสีย]
- ↑ "คืนนี้วันนั้น - ไฮแจ็ค+ทีสเกิร์ต (2/2)". ช่อง 5. 4 May 2012. สืบค้นเมื่อ 21 March 2015.
- ↑ นัยนะ (November 3, 2006). "Hi-Jack". พันทิปดอตคอม. สืบค้นเมื่อ September 3, 2016.
- ↑ นัยนะ (March 21, 2010). "วงเต้นของเกาหลีหลายๆวงเนี่ยะ สู้ไฮแจค ได้ป่าวคับ". พันทิปดอตคอม. สืบค้นเมื่อ September 3, 2016.
- ↑ "Hi-Jack อดีตบอยแบนด์ยุค 90 สเต็ปเทพที่ไม่อาจลืม". ช่องอมรินทร์ทีวี. 7 June 2017. สืบค้นเมื่อ 7 June 2017.