ไทยลีก 4 ฤดูกาล 2561 – โซนกรุงเทพและปริมณฑล

ไทยลีก 4 ฤดูกาล 2561 โซนกรุงเทพและปริมณฑล เป็นส่วนหนึ่งของการแข่งขันไทยลีก 4 ฤดูกาล 2561 ซึ่งเป็นการแข่งขันในระดับที่ 4 ในระบบลีกของฟุตบอลไทย และเป็นการแข่งขันฤดูกาลที่ 10 นับตั้งแต่ก่อตั้งลีกภูมิภาคในปี พ.ศ. 2552

ไทยลีก 4 ฤดูกาล 2561
โซนกรุงเทพและปริมณฑล
ฤดูกาล2561
วันที่10 กุมภาพันธ์ – 25 สิงหาคม พ.ศ. 2561
ทีมชนะเลิศมหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ
ตกชั้นโดม
จำนวนนัด132
จำนวนประตู316 (2.39 ประตูต่อนัด)
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
5 ประตู
ทรู แบงค็อก ยูไนเต็ด บี 5–0 สมุทรปราการ
(24 มิถุนายน 2561)
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
4 ประตู
แอร์ฟอร์ซ โรบินสัน 0–4 มหาวิทยาลัยปทุมธานี
(6 พฤษภาคม 2561)
จำนวนประตูสูงสุด7 ประตู
เกร็กคู สายไหม ยูไนเต็ด 4–3 โปลิศ เทโร บี
(30 มิถุนายน 2561 2561)
ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
8 นัด
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ
ไม่แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
13 นัด
เกร็กคู สายไหม ยูไนเต็ด
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ
ไม่ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
11 นัด
โดม
แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
7 นัด
สมุทรปราการ
จำนวนผู้ชมสูงสุด600 คน
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ 2–0 มหาวิทยาลัยปทุมธานี
(10 กุมภาพันธ์ 2561)
จำนวนผู้ชมต่ำสุด50 คน
โคปูน วอร์ริเออร์ 3–0 มหาวิทยาลัยรังสิต
(24 มีนาคม 2561)

เกร็กคู สายไหม ยูไนเต็ด 1–2 โดม
(1 เมษายน 2561)

โปลิศ เทโร บี 0–3 มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ
(7 กรกฎาคม 2561)

เกร็กคู สายไหม ยูไนเต็ด 1–1 มหาวิทยาลัยปทุมธานี
(15 กรกฎาคม 2561)
จำนวนผู้ชมรวม24,422 คน
จำนวนผู้ชมเฉลี่ย188 คน
2560
2562
สถิติทั้งหมดปรับปรุงล่าสุดในวันที่ 25 สิงหาคม 2561

สโมสรที่เข้าร่วมแข่งขัน

แก้
 
 
กรุงเทพมหานครและปริมณฑล
ที่ตั้งของสโมสรในการแข่งขันไทยลีก 4 ฤดูกาล 2561 โซนกรุงเทพและปริมณฑล

ฤดูกาล 2561 มี 12 สโมสรเข้าแข่งขันในโซนกรุงเทพและปริมณฑล ได้แก่

สโมสร ที่ตั้ง สนามเหย้า ความจุ ผลงานในฤดูกาล 2560
การท่าเรือ บี กรุงเทพมหานคร (จตุจักร) สนามกีฬาอินทรีจันทรสถิตย์ ไม่ได้เข้าร่วม
เกร็กคู สายไหม ยูไนเต็ด กรุงเทพมหานคร (สายไหม) สนามเกร็กคู สายไหม อันดับที่ 10 ไทยลีก 4 โซนกรุงเทพและปริมณฑล (ในชื่อเกร็กคู ลูกทัพฟ้า ปทุมธานี)
โคปูน วอร์ริเออร์ พระนครศรีอยุธยา (เสนา) สนามกีฬาเสนาบดี อันดับที่ 6 ไทยลีก 4 โซนกรุงเทพและปริมณฑล
โดม ปทุมธานี (คลองหลวง) ธรรมศาสตร์สเตเดียม อันดับที่ 5 ไทยลีก 4 โซนกรุงเทพและปริมณฑล
ทรู แบงค็อก ยูไนเต็ด บี ปทุมธานี (คลองหลวง) ทรูสเตเดียม รองชนะเลิศไทยลีก 4 โซนกรุงเทพและปริมณฑล
บีจีซี ปทุมธานี (ธัญบุรี) ลีโอสเตเดียม อันดับที่ 9 ไทยลีก 4 โซนกรุงเทพและปริมณฑล (ในชื่อบางกอกกล๊าส บี)
โปลิศ เทโร บี กรุงเทพมหานคร (หลักสี่) สนามกีฬาบุณยะจินดา ไม่ได้เข้าร่วม
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ ปทุมธานี (ธัญบุรี) สนามกีฬามหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต ชนะเลิศไทยลีก 4 โซนกรุงเทพและปริมณฑล
รอบแชมเปียนส์ลีก รอบคัดเลือก
มหาวิทยาลัยปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา (บางไทร) สนามกีฬาราชคราม อันดับที่ 7 ไทยลีก 4 โซนกรุงเทพและปริมณฑล (ในชื่อพีทียู ปทุมธานี ซีคเคอร์)
มหาวิทยาลัยรังสิต ปทุมธานี สนามฟุตบอลมหาวิทยาลัยรังสิต อันดับที่ 8 ไทยลีก 4 โซนกรุงเทพและปริมณฑล
สมุทรปราการ สมุทรปราการ(บางพลี) สนามกีฬาการกีฬาแห่งประเทศไทย บางพลี อันดับที่ 3 ไทยลีก 4 โซนกรุงเทพและปริมณฑล
รอบแชมเปียนส์ลีก รอบคัดเลือก
แอร์ฟอร์ซ โรบินสัน ปทุมธานี (ลำลูกกา) สนามกีฬากองทัพอากาศ (ธูปะเตมีย์) ชนะเลิศไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก โซนกรุงเทพและปริมณฑล (เลื่อนชั้น)

หมายเหตุ:

ผลการแข่งขัน

แก้
เหย้า \ เยือน1 PORU23 GSU KPW DOM BKUU23 BGC POTU23 NBU PTU RSU SMP AFR
การท่าเรือ บี 0–3 0–0 0–1 0–0 1–1 1–1 0–1 0–1 2–1 0–1 1–2
เกร็กคู สายไหม ยูไนเต็ด 2–0 1–1 1–2 3–1 1–1 4–3 1–1 1–1 1–0 2–2 3–0
โคปูน วอร์ริเออร์ 3–0 1–1 1–0 2–3 4–0 2–2 2–4 1–1 3–0 1–0 0–1
โดม 1–3 1–2 2–2 0–0 1–3 1–0 1–4 1–2 0–0 3–1 1–0
แบงค็อก ยูไนเต็ด บี 2–1 4–0 2–1 2–0 2–2 3–2 0–1 2–0 2–0 5–0 0–0
บีจีซี 2–0 1–2 4–0 1–1 2–2 2–0 2–2 0–0 1–1 3–2 0–0
โปลิศ เทโร บี 0–1 0–0 0–0 3–2 3–2 1–2 0–3 1–1 1–0 3–0 1–0
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ 1–0 1–0 1–0 2–0 1–0 0–1 1–0 2–0 4–1 2–0 2–1
มหาวิทยาลัยปทุมธานี 1–0 1–1 1–1 1–0 3–1 1–2 2–1 3–3 0–0 1–1 0–0
มหาวิทยาลัยรังสิต 3–1 1–2 2–0 1–0 1–2 0–1 0–0 0–2 1–1 2–1 2–1
สมุทรปราการ 0–2 4–2 1–0 2–1 0–3 1–1 3–1 1–3 0–2 0–0 3–1
แอร์ฟอร์ซ โรบินสัน 0–1 1–2 2–2 1–0 0–0 2–1 0–1 1–0 0–4 3–2 0–1

แหล่งข้อมูล: ไทยลีก 4
1คอลัมน์ด้านซ้ายมือหมายถึงทีมเหย้า
สี: ฟ้า = ทีมเหย้าชนะ; เหลือง = เสมอ; แดง = ทีมเยือนชนะ
สำหรับแมตช์ที่กำลังมาถึง อักษร a หมายถึง มีบทความเกี่ยวกับแมตช์นั้น

ตารางคะแนน

แก้
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบหรือการตกชั้น
1 มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ (C, Q, P) 22 17 3 2 41 14 +27 54 ผ่านเข้าสู่รอบแชมเปียนส์ลีก[1]
2 ทรู แบงค็อก ยูไนเต็ด บี[a] 22 11 6 5 38 22 +16 39
3 เกร็กคู สายไหม ยูไนเต็ด (Q) 22 10 8 4 35 27 +8 38 ผ่านเข้าสู่รอบแชมเปียนส์ลีก[1]
4 บีจีซี (Q) 22 9 10 3 33 24 +9 37 ผ่านเข้ารอบเพลย์ออฟสู่รอบแชมเปียนส์ลีก[1]
5 มหาวิทยาลัยปทุมธานี 22 7 4 11 24 38 −14 25[b]
6 สมุทรปราการ 22 7 4 11 24 38 −14 25[b]
7 โคปูน วอร์ริเออร์ 22 5 9 8 27 28 −1 24[c]
8 โปลิศ เทโร บี[a] 22 6 6 10 24 30 −6 24[c]
9 แอร์ฟอร์ซ โรบินสัน 22 6 5 11 16 27 −11 23
10 มหาวิทยาลัยรังสิต 22 5 6 11 18 28 −10 21
11 การท่าเรือ บี[a] 22 5 4 13 14 27 −13 19[d]
12 โดม (R) 22 5 4 13 19 32 −13 19[d] ตกชั้นสู่ไทยแลนด์อเมเจอร์ลีก ฤดูกาล 2562[1]
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2561. แหล่งที่มา : ไทยลีก 4
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน; 2) คะแนนการพบกันของทั้งสองทีม; 3) ผลต่างประตูในการพบกันของทั้งสองทีม; 4) ประตูที่ทำได้ในการพบกันของทั้งสองทีม; 5) ผลต่างประตูโดยรวม; 6) ประตูที่ทำได้โดยรวม; 7) คะแนนแฟร์เพลย์; 8) Play-off without extra time;).[2]
(C) ชนะเลิศ; (P) เลื่อนชั้น; (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ; (R) ตกชั้น.
หมายเหตุ :
  1. 1.0 1.1 1.2 ทีมสำรองของทีมในไทยลีกและไทยลีก 2 ไม่มีสิทธิ์เลื่อนชั้น เข้ารอบเพลย์ออฟ หรือตกชั้น[1]
  2. 2.0 2.1 ผลเฮด-ทู-เฮดของมหาวิทยาลัยปทุมธานี (4 คะแนน) ดีกว่าสมุทรปราการ (1 คะแนน)
  3. 3.0 3.1 ผลเฮด-ทู-เฮดของโคปูน วอร์ริเออร์และโปลิศ เทโร บีเท่ากัน (2 คะแนน ผลต่างได้เสีย 0) โคปูน วอร์ริเออร์มีผลต่างประตูได้เสียโดยรวมดีกว่า
  4. 4.0 4.1 ผลเฮด-ทู-เฮดของการท่าเรือ บี (3 คะแนน ผลต่างได้เสีย +1) ดีกว่าโดม (3 คะแนน ผลต่างได้เสีย -1)

สถิติประจำฤดูกาล

แก้

ผู้ทำประตูสูงสุด

แก้

สถิตินับถึงวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ซึ่งเป็นวันสุดท้ายของการแข่งขันในโซนกรุงเทพและปริมณฑล[3]

อันดับ ผู้เล่น สโมสร ประตู
1   Joao Francisco มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ 14
2   กฤตานนท์ ธนโชติเจริญผล เกร็กคู สายไหม ยูไนเต็ด 12
3   วีรภัทร นิลบูรพา ทรู แบงค็อก ยูไนเต็ด บี 10
4   ภัทรพล จันทร์สุวรรณ บีจีซี 9
5   จิรายุ เนียมไธสง ทรู แบงค็อก ยูไนเต็ด บี 8
  วิทวัส วงศ์ณรัตน์ โคปูน วอร์ริเออร์
7   Dennis Borketey Bortier สมุทรปราการ 7
8   Djibril Soumah เกร็กคู สายไหม ยูไนเต็ด 6
  ณัฐพล พรหมทองวรรณ มหาวิทยาลัยปทุมธานี
  รณชัย พงพุทธา โปลิศ เทโร บี

การทำแฮตทริก

แก้

ในการแข่งขันไทยลีก 4 โซนกรุงเทพและปริมณฑลมีการทำแฮตทริกเกิดขึ้น 4 ครั้ง ได้แก่

ผู้เล่น สโมสร คู่แข่งขัน ผล นาทีและประตู วันที่
  Joao Francisco มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ (เยือน) สมุทรปราการ (เหย้า) 1–3 เก็บถาวร 2018-02-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน   24' (0–1),   32' (0–2),   68' (0–3) 17 กุมภาพันธ์ 2561
  วีรภัทร นิลบูรพา ทรู แบงค็อก ยูไนเต็ด บี (เหย้า) สมุทรปราการ (เยือน) 5–0 เก็บถาวร 2018-06-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน   2' (1–0),   27' (2–0),   52' (3–0) 24 มิถุนายน 2561
  จิรายุ เนียมไธสง ทรู แบงค็อก ยูไนเต็ด บี (เหย้า) โปลิศ เทโร บี (เยือน) 3–2[ลิงก์เสีย]   79' (1–2),   87' (2–2),   90+2' (3–2) 13 สิงหาคม 2561
  Dennis Borketey Bortier สมุทรปราการ (เหย้า) เกร็กคู สายไหม ยูไนเต็ด (เยือน) 4–2[ลิงก์เสีย]   52' (2–1),   54' (3–1),   90+4' (4–2) 25 สิงหาคม 2561

สถิติผู้เข้าชม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 "T4 ชปล.ปีนี้ คัมแบ็กเตะมินิลีก เจอกันหนเดียว โควต้าเข้ารอบ ชปล.ไม่เหมือนเก่า".
  2. "Official rules of Thai League 2017" (PDF). fathailand.org. FA Thailand.
  3. สถิติผู้เล่นทำประตูมากที่สุดในไทยลีก 4 โซนกรุงเทพและปริมณฑล[ลิงก์เสีย]

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้