ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2567–68 – โซนภาคกลาง

ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2567–68 โซนภาคกลาง เป็นส่วนหนึ่งของการแข่งขันไทยลีก 3 ฤดูกาล 2567–68 ซึ่งเป็นการแข่งขันในระดับที่ 3 ในระบบลีกฟุตบอลไทย และเป็นการแข่งขันฤดูกาลที่ 8 ของไทยลีก 3 นับตั้งแต่ก่อตั้งลีกเมื่อ พ.ศ. 2560

ไทยลีก 3 โซนภาคกลาง
ฤดูกาล2567–68
วันที่14 กันยายน 2567 – 30 มีนาคม 2568
ทีมชนะเลิศลพบุรี ซิตี้
ตกชั้นสระบุรี ยูไนเต็ด
รอบระดับประเทศลพบุรี ซิตี้
ม.นอร์ทกรุงเทพ
จำนวนนัด110
จำนวนประตู284 (2.58 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดอาเล็กซันดาร์ มูทิก
(11 ประตู)
ผู้รักษาประตูที่ดีที่สุดสนั่น อ่ำเกิด
(10 คลีนชีตส์)
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
7 ประตู
พราม แบงค็อก 8–1 สระบุรี ยูไนเต็ด
(17 พฤศจิกายน 2567)
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
3 ประตู
จามจุรี ยูไนเต็ด 0–3 พราม แบงค็อก
(2 พฤศจิกายน 2567)
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก 1–4 ม.นอร์ทกรุงเทพ
(17 พฤศจิกายน 2567)
จำนวนประตูสูงสุด9 ประตู
พราม แบงค็อก 8–1 สระบุรี ยูไนเต็ด
(17 พฤศจิกายน 2567)
ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
4 นัด
พราม แบงค็อก
ม.เกษมบัณฑิต
ไม่แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
14 นัด
ม.นอร์ทกรุงเทพ
ไม่ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
15 นัด
โดม
แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
4 นัด
โดม
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก
จำนวนผู้ชมสูงสุด601 คน
สระบุรี ยูไนเต็ด 1–2 ม.นอร์ทกรุงเทพ
(19 ตุลาคม 2567)
จำนวนผู้ชมต่ำสุด0 คน
จำนวนผู้ชมรวม24,994 คน
จำนวนผู้ชมเฉลี่ย234 คน
2566–67 (โซนกรุงเทพและปริมณฑล)
สถิติทั้งหมดปรับปรุงล่าสุดในวันที่ 30 มีนาคม 2568

ซึ่งเป็นฤดูกาลแรกที่ได้มีการปรับโครงสร้าง โดยได้มีการยุบโซนกรุงเทพและปริมณฑล และเปลี่ยนเป็นโซนภาคกลาง เพื่อให้สอดคล้องกับการกระจายตัวทางภูมิศาสตร์ของสโมสรมากขึ้น[1]

สโมสร

แก้

สโมสรที่เข้าแข่งขันในฤดูกาล 2567–68 โซนภาคกลาง มีจำนวน 11 สโมสร โดยแบ่งเป็นสโมสรจากโซนกรุงเทพและปริมณฑล จำนวน 6 สโมสร สโมสรจากโซนภาคตะวันตก จำนวน 4 สโมสร และสโมสรที่เลื่อนชั้นจากไทยแลนด์ เซมิโปรลีก โซนกรุงเทพและปริมณฑล จำนวน 1 สโมสร

สนามเหย้า ที่ตั้ง และผลงานฤดูกาลที่แล้ว

แก้
สโมสร ที่ตั้ง สนามเหย้า ความจุ อันดับฤดูกาล 2566–67
จามจุรี ยูไนเต็ด กรุงเทพมหานคร
(ปทุมวัน)
สนามกีฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 20,000 8 (กทม.)
โดม ปทุมธานี
(คลองหลวง)
ธรรมศาสตร์สเตเดียม 25,000 1 (ทีเอส)
ทหารอากาศ ปทุมธานี
(ลำลูกกา)
สนามกีฬาธูปะเตมีย์ 25,000 7 (กทม.)
พราม แบงค็อก กรุงเทพมหานคร
(หลักสี่)
สนามบุณยะจินดา 4,402 6 (กทม.)
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต กรุงเทพมหานคร
(มีนบุรี)
เอสตาดิโอ เกษม 1,000 5 (กทม.)
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ ปทุมธานี
(ธัญบุรี)
สนามกีฬามหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต 1,550 2 (กทม.)
มหาวิทยาลัยปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา สนามกีฬาราชคราม สปอร์ตคลับ บางไทร 1,000 1 (ตะวันตก)
ลพบุรี ซิตี้ ลพบุรี สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดลพบุรี 1,000 5 (ตะวันตก)
สระบุรี ยูไนเต็ด สระบุรี สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดสระบุรี 7,000 4 (ตะวันตก)
อ่างทอง อ่างทอง สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดอ่างทอง 5,000 2 (ตะวันตก)
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก ปทุมธานี
(คลองหลวง)
สนามกีฬามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 11 (กทม.)

ข้อมูลสโมสร

แก้
สโมสร หัวหน้าผู้ฝึกสอน กัปตันทีม ผู้ผลิตชุด
จามจุรี ยูไนเต็ด   อดุลย์ ลือกิจนา   ปราชญ์ปรีชา เพ็ชร์ทอง เอฟบีที
โดม   ประทีป เสนาลา   อภิภู สุนทรพนาเวศ ไอมาเน
ทหารอากาศ   มนตรี แพรพันธ์   รพีพัชร นาคเพ็ชร กีลา
พราม แบงค็อก   ธัญญาภรณ์ คล้ายขำ   วิลเลียม ควิสต์ เน็กซ์ดีไซน์
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต   ครองพล ดาวเรือง   พิษณุ ปุณริบูรณ์ แกรนด์สปอร์ต
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ   ดำรงศักดิ์ บุญม่วง   ณพวิทย์ ต่อมยิ้ม เอชทรีสปอร์ต
มหาวิทยาลัยปทุมธานี   กันตวัฒน์ สุวรรณภาญกูร   ภาณุพงศ์ หะวัน อีโกสปอร์ต
ลพบุรี ซิตี้   อภิชาติ สรรพสมบูรณ์
  ปณิธาน มั่นประเทศ
  อภิวิชฐ์ ภู่เล็ก ไอมาเน
สระบุรี ยูไนเต็ด   นิรุจน์ สุระเสียง   สุริยะ ผ่องผึ้ง แกรนด์สปอร์ต
อ่างทอง   วริศ บุญศรีพิทยานนท์   กมล โพธิ์ทอง ทีดับเบิลยูสปอร์ต
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก   ณัฐวุฒิ อู่สุวรรณทิม   กิตติพันธ์ ใจงาม เน็กซ์ดีไซน์

ผู้เล่นต่างชาติ

แก้

สำหรับการขึ้นทะเบียนผู้เล่นต่างชาติ กำหนดให้เป็นนักกีฬาฟุตบอลต่างชาติสัญชาติทั่วไปไม่เกิน 3 คน

Note :
 : ผู้เล่นที่ปล่อยตัวระหว่างตลาดซื้อขายนักเตะครั้งที่ 2
 : ผู้เล่นที่ลงทะเบียนระหว่างตลาดซื้อขายนักเตะครั้งที่ 2
↔: ผู้เล่นที่มีสองสัญชาติ
→: ผู้เล่นที่ออกจากสโมสรหลังจากลงทะเบียนในเลกแรกหรือเลกที่สอง
ผู้เล่นต่างชาติทั่วไป
ผู้เล่นต่างชาติ (เอเชีย)
ผู้เล่นต่างชาติ (อาเซียน)
ไม่มีการลงทะเบียนผู้เล่นต่างชาติ
สโมสร เลก ผู้เล่นรายที่ 1 ผู้เล่นรายที่ 2 ผู้เล่นรายที่ 3
จามจุรี ยูไนเต็ด เลกที่ 1   แอลีเย โลบูเอต     ทิสฮาน ฮานลีย์  
เลกที่ 2   อูเช วินเซนต์ เอกบูฮูซอร์  
โดม เลกที่ 1
เลกที่ 2   อีแซก แอมเบนกาน     ช็อง จา-อิน  
ทหารอากาศ เลกที่ 1   เบนจามิน ซาห์   เอ็มมานูเอล ควาเม อะคาดอม   ซอ ย็อง-ฮุน  
เลกที่ 2   เมนซาห์ พรินซ์  
พราม แบงค็อก เลกที่ 1   อาเล็กซันเดอร์ ทคักซ์   อาเล็กซันดาร์ มูทิก     วิลเลียม ควิสต์
เลกที่ 2   โจนาธาน เทสเฟย์ ฮาเบต  
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต เลกที่ 1   โซซูเกะ คิมูระ     เคนเนดี โอโซเบียลู   ทอมัส ชินอนโซ
เลกที่ 2   จอห์น โอเวอรี  
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ เลกที่ 1   คัง อึย-ชัน     โมฮาเหม็ด กูอาดียอ   ซอ มิน-กุก  
เลกที่ 2   เอลีอัส     เซบาสเตียน สคาโรนี  
มหาวิทยาลัยปทุมธานี เลกที่ 1   เอริก คูมี     เรียว โทมิกาฮาระ   อ็องรี โฌแอล  
เลกที่ 2   เซอรี อิสซา     ยูโตะ โยชิจิมะ  
ลพบุรี ซิตี้ เลกที่ 1   ญุดซง     ฮามเซฮ์ ซะรี     อเล็กซ์ เมอร์มอซ
เลกที่ 2   ลูกัส มัสซารู     ชีอู  
สระบุรี ยูไนเต็ด เลกที่ 1   ซานติอาโก กอร์รัล     เหยา เนียนผิง     อาดู แดเนียล อีคูอูคูนี
เลกที่ 2   โอซอร์ อีนอช     โอกูวีเก เอเมกา เอ็นดูบูอีซี  
อ่างทอง เลกที่ 1   มูอาซีร์     โกเน อาบูบาการ์   คารัม อีดริส  
เลกที่ 2   กาแอล มาบียาลา     เรียวตะ เอ็นโด  
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก เลกที่ 1   อาบราเวา   แมมมัด กูลิเยฟ     โมฮัมเหม็ด ราเบีย จูเนียร์  
เลกที่ 2   อ็องรี โฌแอล     ไมเคิล อานูโนบี  

การเปลี่ยนแปลงที่ตั้ง และอัตลักษณ์

แก้

การเปลี่ยนแปลงผู้จัดการทีม

แก้
สโมสร ผู้จัดการทีมที่ออก สาเหตุที่ออก วันที่ออก อันดับในตารางคะแนน ผู้จัดการทีมที่เข้าแทน วันที่เข้า
สระบุรี ยูไนเต็ด   ชวภณ กมลสินธุ์ แยกทาง กุมภาพันธ์ 2567 ก่อนเริ่มฤดูกาล   อดิเรก พันธ์ไพโรจน์ 28 มีนาคม 2567[2]
ลพบุรี ซิตี้   อชิระ ทองเจิม   นิรุจน์ สุระเสียง 2 พฤษภาคม 2567[3]
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก   คำรณ สำราญพันธ์   สันติชัย อนุสิม กรกฎาคม 2567
อ่างทอง   เยิร์ค สเตนบรุนเนอร์ เมษายน 2567   ประจักษ์ เวียงสงค์ 6 มิถุนายน 2567[4]
พราม แบงค็อก   ธิดารัตน์ วิวาสุขุ ปรับโครงสร้าง กรกฎาคม 2567   ธัญญาภรณ์ คล้ายขำ กรกฎาคม 2567
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก   สันติชัย อนุสิม แยกทาง 23 กันยายน 2567 อันดับที่ 9   อภิรักษ์ ศรีอรุณ 23 กันยายน 2567
อ่างทอง   ประจักษ์ เวียงสงค์ ลาออก 13 ตุลาคม 2567[5] อันดับที่ 10   ยศดนัย นาคทับทิม (รักษาการ) 14 ตุลาคม 2567
ลพบุรี ซิตี้   นิรุจน์ สุระเสียง แยกทาง 15 ตุลาคม 2567[6] อันดับที่ 2   อภิชาติ สรรพสมบูรณ์
  ปณิธาน มั่นประเทศ
16 ตุลาคม 2567
อ่างทอง   ยศดนัย นาคทับทิม (รักษาการ) สิ้นสุดระยะเวลารักษาการ 13 พฤศจิกายน 2567 อันดับที่ 10   วริศ บุญศรีพิทยานนท์ 13 พฤศจิกายน 2567[7]
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต   กฤษณ์ สิงห์ปรีชา แยกทาง 21 พฤศจิกายน 2567[8] อันดับที่ 4   ครองพล ดาวเรือง 26 พฤศจิกายน 2567[9]
สระบุรี ยูไนเต็ด   อดิเรก พันธ์ไพโรจน์ 24 พฤศจิกายน 2567 อันดับที่ 8   จารุวัฒน์ ยอดชู 28 พฤศจิกายน 2567[10]
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก   อภิรักษ์ ศรีอรุณ 24 พฤศจิกายน 2567 อันดับที่ 10   ณัฐวุฒิ อู่สุวรรณทิม 5 ธันวาคม 2567[11]
สระบุรี ยูไนเต็ด   จารุวัฒน์ ยอดชู 23 กุมภาพันธ์ 2568 อันดับที่ 10   นิรุจน์ สุระเสียง 24 กุมภาพันธ์ 2568

ตารางคะแนน

แก้

อันดับ

แก้
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบหรือการตกชั้น
1 ลพบุรี ซิตี้ (C, Q) 20 12 5 3 41 21 +20 41[a] เข้าแข่งขันในรอบระดับประเทศ
2 มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ (Q) 20 11 8 1 35 14 +21 41[a]
3 มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 20 10 5 5 26 15 +11 35
4 พราม แบงค็อก 20 8 6 6 34 28 +6 30
5 ทหารอากาศ 20 5 10 5 22 21 +1 25[b]
6 มหาวิทยาลัยปทุมธานี 20 7 4 9 17 29 −12 25[b]
7 จามจุรี ยูไนเต็ด 20 6 5 9 26 30 −4 23
8 เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก 20 4 7 9 28 29 −1 19[c]
9 อ่างทอง 20 3 10 7 16 26 −10 19[c]
10 โดม 20 3 9 8 17 32 −15 18
11 สระบุรี ยูไนเต็ด (R) 20 3 7 10 22 39 −17 16 ตกชั้นสู่ไทยแลนด์ เซมิโปรลีก
แหล่งข้อมูล: ไทยลีก
กฏการจัดอันดับ: ก่อนสิ้นสุดฤดูกาล : 1.คะแนนรวม 2.ผลต่างประตูได้-เสีย 3.จำนวนประตูได้ 4.จำนวนนัดที่ชนะ
เมื่อสิ้นสุดฤดูกาลแล้ว: 1.คะแนนรวม 2.ผลการแข่งขันระหว่างทีมที่คะแนนเท่ากัน 3.ผลต่างประตูได้-เสียจากการแข่งขันระหว่างทีมที่คะแนนเท่ากัน 4.จำนวนประตูได้จากการแข่งขันระหว่างทีมที่คะแนนเท่ากัน 5.ผลต่างประตูได้-เสียจากทุกนัด 6.จำนวนประตูได้จากทุกนัด 7.คะแนนใบเหลือง-ใบแดง 8.เพลย์ออฟ 1 นัด ถ้าเสมอกันในเวลาปกติให้ดวลลูกโทษตัดสิน[12]
(C) ชนะเลิศ; (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ; (R) ตกชั้น
หมายเหตุ:
  1. 1.0 1.1 ลพบุรี ซิตี้ มีผลเฮด-ทู-เฮดดีกว่า มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ: มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ 2–2 ลพบุรี ซิตี้, ลพบุรี ซิตี้ 3–2 มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ
  2. 2.0 2.1 ทหารอากาศและมหาวิทยาลัยปทุมธานีมีผลเฮด-ทู-เฮดเสมอกัน: ทหารอากาศ 2–0 มหาวิทยาลัยปทุมธานี, มหาวิทยาลัยปทุมธานี 1–0 ทหารอากาศ แต่ทหารอากาศมีผลต่างประตูได้เสียดีกว่า (ทหารอากาศ ผลต่างประตู +1, มหาวิทยาลัยปทุมธานี ผลต่างประตู -1)
  3. 3.0 3.1 เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก มีผลเฮด-ทู-เฮดดีกว่า อ่างทอง: เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก 3–0 อ่างทอง, อ่างทอง 0–0 เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก


อันดับตามสัปดาห์

แก้

ตารางด้านล่างนี้จะแสดงอันดับบนตารางคะแนนในแต่ละสัปดาห์ เพื่อที่จะแสดงถึงพัฒนาการของแต่ละสโมสร การแข่งขันที่ถูกเลื่อนออกไปจะไม่แสดงในตาราง แต่จะถูกนับรวมกับการแข่งขันอีกนัดเมื่อได้มีการแข่งขันนั้นเกิดขึ้นใหม่ เช่น การแข่งขันนัดที่ 13 ถูกเลื่อนไประหว่างนัดที่ 16 และ 17 ผลตารางคะแนนจะถูกปรับปรุงในนัดที่ 16

ทีม ╲ รอบ12345678910111213141516171819202122
จามจุรี ยูไนเต็ด10422345555575566777777
โดม711111111111111111111111111111111101191010
ทหารอากาศ9779886677667888666655
พราม แบงค็อก3533121111123444444444
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต1110107554344442221133333
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ1256433433334332312212
มหาวิทยาลัยปทุมธานี4645767766756655555566
ลพบุรี ซิตี้2111212222211113221121
สระบุรี ยูไนเต็ด63646788888910101010101110111111
อ่างทอง888810109101099109999988899
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก599109910991010887778991088
เข้ารอบแข่งขันในรอบระดับประเทศ
ตกชั้นสู่ไทยแลนด์ เซมิโปรลีก
อ้างอิง: ไทยลีก

ผลการแข่งขันที่ลงเล่น

แก้
อ้างอิง: ไทยลีก
N = ไม่มีการแข่งขัน; W = ชนะ; D = เสมอ; L = แพ้

ผลการแข่งขัน

แก้
เหย้า \ เยือน CCU DME RAF PBK KBU NBU PTU LRC SRU ATG AIB
จามจุรี ยูไนเต็ด 2–1 2–2 0–3 0–1 0–1 3–0 4–1 0–1 1–1 3–1
โดม 0–2 1–1 0–2 1–0 1–1 1–1 1–3 1–1 0–0 2–2
ทหารอากาศ 2–1 0–1 2–2 1–1 0–0 2–0 2–3 3–2 0–0 2–1
พราม แบงค็อก 1–2 1–1 1–2 0–1 0–0 3–2 2–1 8–1 3–2 2–1
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 4–2 2–0 1–1 1–2 0–2 2–0 1–2 2–1 3–0 1–0
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ 3–0 2–0 1–1 1–1 1–0 4–0 2–2 4–2 2–0 2–1
มหาวิทยาลัยปทุมธานี 1–0 1–1 1–0 2–0 0–2 0–0 0–2 2–1 2–1 0–0
ลพบุรี ซิตี้ 1–1 6–0 1–0 2–1 0–0 3–2 4–1 5–0 2–0 1–1
สระบุรี ยูไนเต็ด 1–1 2–0 1–1 1–1 1–1 1–2 1–0 0–1 1–2 1–1
อ่างทอง 1–1 2–2 1–0 0–0 0–0 1–1 2–3 1–1 2–1 0–0
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก 4–1 1–3 0–0 6–1 1–3 1–4 0–1 2–0 2–2 3–0
ที่มา: ไทยลีก
สัญลักษณ์: สีฟ้า = ทีมเหย้าชนะ; เหลือง = เสมอ; แดง = ทีมเยือนชนะ

สถิติ

แก้

ผู้ทำประตูสูงสุด

แก้
ณ วันที่ 30 มีนาคม 2568
อันดับที่ ผู้เล่น สโมสร ประตู
1   อาเล็กซันดาร์ มูทิก พราม แบงค็อก (11 ประตู) 11
2   เอลีอัส มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ (10 ประตู) 10
  อเล็กซ์ เมอร์มอซ ลพบุรี ซิตี้
4   โมฮาเหม็ด กูอาดียอ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ 9
  วีรพงศ์ อ้นเพียร มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ
6   ชวัลวิทย์ แซ่เล้า พราม แบงค็อก 7
  กิตติ กินโนนกอก ลพบุรี ซิตี้
8   อาบราเวา เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก 6
  ไมเคิล อานูโนบี เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก (6 ประตู)
10   วัชรพงษ์ วันทอง จามจุรี ยูไนเต็ด 5
  พงศ์นริศร์ อิ่มกมล โดม
  เอ็มมานูเอล ควาเม อะคาดอม ทหารอากาศ
  สิทธิรักษ์ เกิดขุมทอง ทหารอากาศ
  อาดู แดเนียล อีคูอูคูนี สระบุรี ยูไนเต็ด
  ผดุงเกียรติ อาจคิดการ สระบุรี ยูไนเต็ด
  เสกสรร รานอก เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก

แฮตทริก

แก้
ผู้เล่น สโมสร พบกับ ผลการแข่งขัน วันที่
  กิตติ กินโนนกอก ลพบุรี ซิตี้ โดม 6–0 (H) 21 กันยายน 2567
  อาเล็กซันดาร์ มูทิก5 พราม แบงค็อก สระบุรี ยูไนเต็ด 8–1 (H) 17 พฤศจิกายน 2567

คลีนชีตส์

แก้
ณ วันที่ 30 มีนาคม 2568
อันดับที่ ผู้เล่น สโมสร คลีนชีตส์
1   สนั่น อ่ำเกิด มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ 10
2   สิรเศรษฐ เอกประทุมชัย ลพบุรี ซิตี้ 7
3   ชานนท์ อุ่นใจดี มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 5
  กิตติทัต คำแก้ว มหาวิทยาลัยปทุมธานี
  ณัฐพล สวนสาร เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก
6   ภัทรดนัย อิฐานูประธานะ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 4
7   กษิดิ์เดช รุ่งกิจวัฒนานุกูล โดม 3
  กิตติศักดิ์ ทองคำ ทหารอากาศ
  พิจักษณ์ ดอนวิไทย พราม แบงค็อก
  ณัฐวุฒิ ภู่บุญ อ่างทอง (3)
11   ฐิติกร ไวยะวัฒนะ มหาวิทยาลัยปทุมธานี 2
  อิทธิกร กุหลาบ สระบุรี ยูไนเต็ด
  ฐิติพงษ์ กระธน อ่างทอง
  ธนธรณ์ กุจนา อ่างทอง
15   ณภัทร สื่อมโนธรรม จามจุรี ยูไนเต็ด 1
  รัตนพงษ์ สินยานันท์ จามจุรี ยูไนเต็ด
  วิชานนท์ ชมชื่น ทหารอากาศ
  ภราดร บุญถนอม พราม แบงค็อก
  ชาญชัย ทองสุข พราม แบงค็อก
  ทศพล ศรีเตชะ สระบุรี ยูไนเต็ด (1)

ผู้ชม

แก้

สถิติผู้ชมทั้งหมด

แก้
อันดับ ทีม รวม สูงสุด ต่ำสุด เฉลี่ย เปลี่ยนแปลง
1 อ่างทอง 3,222 458 0 358 −43.7%
2 ลพบุรี ซิตี้ 3,325 503 169 333 +27.6%
3 ทหารอากาศ 3,311 429 215 331 +58.4%
4 พราม แบงค็อก 2,994 430 230 299 −15.5%
5 มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 2,550 500 150 255 +20.3%
6 สระบุรี ยูไนเต็ด 2,188 601 82 219 −62.8%
7 จามจุรี ยูไนเต็ด 1,890 300 125 189 −10.0%
8 มหาวิทยาลัยปทุมธานี 1,487 325 0 165 +16.2%
9 โดม 1,577 250 100 158 +66.3%
10 มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ 1,468 204 105 147 −9.8%
11 เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก 982 195 0 109 −14.8%
รวม 24,994 601 0 234 +2.2%

ปรับปรุงล่าสุดในนัดการแข่งขันเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2568
แหล่งข้อมูล: ไทยลีก
หมายเหตุ:'
สโมสรที่เลื่อนชั้นจากไทยแลนด์ เซมิโปรลีก

จำนวนผู้ชมจากเกมเหย้า

แก้
ทีม / สัปดาห์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 รวม
จามจุรี ยูไนเต็ด 170 300 200 150 170 300 150 165 125 160 1,890
โดม 180 145 170 200 167 100 115 150 100 250 1,577
ทหารอากาศ 269 351 298 343 384 215 429 270 328 424 3,311
พราม แบงค็อก 240 330 300 430 235 315 365 230 245 304 2,994
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 300 200 150 200 200 250 200 250 300 500 2,550
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ 204 154 197 105 128 120 120 120 120 200 1,468
มหาวิทยาลัยปทุมธานี Unk.1 120 107 220 325 150 70 300 125 70 1,487
ลพบุรี ซิตี้ 400 420 169 503 413 415 310 170 225 300 3,325
สระบุรี ยูไนเต็ด 196 205 601 90 125 127 112 82 150 500 2,188
อ่างทอง 405 324 334 314 329 387 Unk.3 458 365 306 3,222
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก 150 53 102 Unk.2 55 120 65 115 127 195 982

แหล่งที่มา: ไทยลีก

หมายเหตุ:
Unk.1 ข้อผิดพลาดในการรายงานการแข่งขันเมื่อวันที่ 14 กันยายน 2567 (มหาวิทยาลัยปทุมธานี 1–0 จามจุรี ยูไนเต็ด)
Unk.2 ข้อผิดพลาดในการรายงานการแข่งขันเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2567 (เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก 0–0 ทหารอากาศ)
Unk.3 ข้อผิดพลาดในการรายงานการแข่งขันเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2568 (อ่างทอง 0–0 เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก)

อ้างอิง

แก้
  1. "นอร์ทกรุงเทพมองไทยลีก3แบ่งโซนใหม่มีแง่ดีแต่หลักการต้องชัดเจน". siamsport.co.th. siamsport. สืบค้นเมื่อ 2 October 2024.
  2. ""สระบุรี ยูฯ" ตั้ง "โค้ชอดิเรก" คุมทีมลุย T3 ฤดูกาลหน้า". ballthai.com. ballthai. 28 March 2024. สืบค้นเมื่อ 14 October 2024.
  3. ""ลพบุรี ซิตี้" ประกาศตั้ง "นิรุจน์ สุระเสียง" คุมทัพ". ballthai.com. ballthai. 2 May 2024. สืบค้นเมื่อ 14 October 2024.
  4. "แนวทางตรงกัน! อ่างทอง เอฟซี ตั้ง "ประจักษ์ เวียงสงค์ คุมทีมลุยไทยลีก3". siamsport.co.th. siamsport. 6 June 2024. สืบค้นเมื่อ 14 October 2024.
  5. ""โค้ชจักษ์" ยุติบทบาทกุนซือ "นักรบรวงทอง" เป็นที่เรียบร้อย". ballthai.com. ballthai. 13 October 2024. สืบค้นเมื่อ 14 October 2024.
  6. "นิรุจน์ สุระเสียง อำลา ลพบุรี ซิตี้ หลังพาทีมแข่งไป 4 เกม". ballthai.com. ballthai. 16 October 2024. สืบค้นเมื่อ 16 October 2024.
  7. "อ่างทอง ตั้ง"โค้ชวุฒิ" วริศ บุญศรีพิทยานนท์ คุมทัพ". facebook.com. AngthongFC. 13 November 2024. สืบค้นเมื่อ 22 November 2024.
  8. "โค้ชโป้ง โพสต์แยกทาง ม.เกษมบัณฑิต หลังคุมทัพมา 2 ฤดูกาล". siamsport.co.th. siamsport. 21 November 2024. สืบค้นเมื่อ 22 November 2024.
  9. "เกษมบัณฑิต ตั้ง "ครองพล ดาวเรือง" ทำหน้าที่เป็นกุนซือคนใหม่". siamsport.co.th. siamsport. 26 November 2024. สืบค้นเมื่อ 1 December 2024.
  10. ""นักรบสระบุรี" แต่งตั้ง "โค้ชไก่" เป็นกุนซือเป็นที่เรียบร้อย". ballthai.com. ballthai. 28 November 2024. สืบค้นเมื่อ 1 December 2024.
  11. "เอยูยู อินเตอร์ฯ แยกทาง "โค้ชเต่า" เปิดตัว "ณัฐวุฒิ" บู๊เลก 2". siamsport.co.th. siamsport. 5 December 2024. สืบค้นเมื่อ 7 December 2024.
  12. "ระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการจัดการแข่งขันกีฬาฟุตบอลลีกอาชีพ รายการ ไทยลีก 3 พ.ศ. 2567/68" (PDF). fathailand.org. สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์.