ไดเฟนไฮดรามีน (อังกฤษ: Diphenhydramine) เป็นยาสารต้านฮิสตามีนที่ใช้แก้ภูมิแพ้[8] และยังใช้แก้โรคนอนไม่หลับ, โรคจากหวัดทั่วไป, อาการสั่นในพาร์คินโซนิซึม และคลื่นไส้[8] โดยใช้วิธีการให้ทางปาก, ฉีดเข้าเส้นเลือด, ฉีกเข้ากล้ามเนื้อ หรือทาบนผิวหนัง[8] ซึ่งจะมีผลประมาณสองชั่วโมงหลังให้ยาครั้งแรก และอาการจะอยู่นานถึงเจ็ดชั่วโมง[8]

ไดเฟนไฮดรามีน
ข้อมูลทางคลินิก
การอ่านออกเสียง/ˌdfɛnˈhdrəmn/
ชื่อทางการค้าBenadryl, Unisom, Nytol, อื่น ๆ
AHFS/Drugs.comโมโนกราฟ
MedlinePlusa682539
ข้อมูลทะเบียนยา
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์
  • AU: A
Dependence
liability
ต่ำมาก[1]
ช่องทางการรับยาทางปาก, กล้ามเนื้อ, หลอดเลือดดำ, เฉพาะที่, ทวาร
รหัส ATC
กฏหมาย
สถานะตามกฏหมาย
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
ชีวประสิทธิผล40–60%[4]
การจับกับโปรตีน98–99%
การเปลี่ยนแปลงยาตับ (CYP2D6, อื่น ๆ)[2][3]
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพขอบเขต: 2.4–13.5 ชั่วโมง[5][4][6]
การขับออกปัสสาวะ: 94%[7]
อุจจาระ: 6%[7]
ตัวบ่งชี้
  • 2-(diphenylmethoxy)-N,N-dimethylethanamine
เลขทะเบียน CAS
PubChem CID
IUPHAR/BPS
DrugBank
ChemSpider
UNII
KEGG
ChEBI
ChEMBL
ECHA InfoCard100.000.360
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC17H21NO
มวลต่อโมล255.361 g·mol−1
แบบจำลอง 3D (JSmol)
  • O(CCN(C)C)C(c1ccccc1)c2ccccc2
  • InChI=1S/C17H21NO/c1-18(2)13-14-19-17(15-9-5-3-6-10-15)16-11-7-4-8-12-16/h3-12,17H,13-14H2,1-2H3 checkY
  • Key:ZZVUWRFHKOJYTH-UHFFFAOYSA-N checkY
  7checkY (what is this?)  (verify)
สารานุกรมเภสัชกรรม

ผลข้างเคียงทั่วไปคือความง่วง, การประสานงานไม่ดี และท้องเสีย[8] เด็กเล็กและผู้สูงอายุไม่แนะนำให้ใช้[8][9] ถึงแม้ว่าจะไม่มีความเสี่ยงในการใช้ยาตอนตั้งครภ์ แต่ไม่แนะนำให้ใช้ตอนให้นมลูก[10] ยานี้เป็นยาสารต้านฮิสตามีน H1 รุ่นแรกและเอทาโนลามีน และทำงานด้วยการบล็อกผลบางส่วนจากฮิสตามีน[8] ไดเฟนไฮดรามีนยังเป็นยาต้านโคลิเนอร์จิคด้วย[11]

ไดเฟนไฮดรามีนได้รับการผลิตขึ้นครั้งแรกโดย George Rieveschl และเริ่มใช้งานทางการค้าใน ค.ศ. 1946[12][13] ยานี้ปรากฏใช้ในยาสามัญ[8] และมีการขายภายใต้ชื่อ Benadryl และอื่น ๆ [8]

อ้างอิง แก้

  1. Hubbard, John R.; Martin, Peter R. (2001). Substance Abuse in the Mentally and Physically Disabled (ภาษาอังกฤษ). CRC Press. p. 26. ISBN 9780824744977.
  2. Krystal AD (August 2009). "A compendium of placebo-controlled trials of the risks/benefits of pharmacological treatments for insomnia: the empirical basis for U.S. clinical practice". Sleep Med Rev. 13 (4): 265–74. doi:10.1016/j.smrv.2008.08.001. PMID 19153052.
  3. "Showing Diphenhydramine (DB01075)". DrugBank. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 สิงหาคม 2009. สืบค้นเมื่อ 5 กันยายน 2009.
  4. 4.0 4.1 Paton DM, Webster DR (1985). "Clinical pharmacokinetics of H1-receptor antagonists (the antihistamines)". Clinical Pharmacokinetics. 10 (6): 477–97. doi:10.2165/00003088-198510060-00002. PMID 2866055. S2CID 33541001.
  5. AHFS Drug Information. Published by authority of the Board of Directors of the American Society of Hospital Pharmacists. 1990.
  6. Simons KJ, Watson WT, Martin TJ, Chen XY, Simons FE (July 1990). "Diphenhydramine: pharmacokinetics and pharmacodynamics in elderly adults, young adults, and children". Journal of Clinical Pharmacology. 30 (7): 665–71. doi:10.1002/j.1552-4604.1990.tb01871.x. PMID 2391399. S2CID 25452263.
  7. 7.0 7.1 Garnett WR (February 1986). "Diphenhydramine". American Pharmacy. NS26 (2): 35–40. doi:10.1016/s0095-9561(16)38634-0. PMID 3962845.
  8. 8.0 8.1 8.2 8.3 8.4 8.5 8.6 8.7 8.8 "Diphenhydramine Hydrochloride". Drugs.com. American Society of Health-System Pharmacists. 6 September 2016. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 September 2016. สืบค้นเมื่อ 28 September 2016.
  9. Schroeck JL, Ford J, Conway EL, Kurtzhalts KE, Gee ME, Vollmer KA, Mergenhagen KA (November 2016). "Review of Safety and Efficacy of Sleep Medicines in Older Adults". Clinical Therapeutics. 38 (11): 2340–2372. doi:10.1016/j.clinthera.2016.09.010. PMID 27751669.
  10. "Diphenhydramine Pregnancy and Breastfeeding Warnings". Drugs.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 October 2016. สืบค้นเมื่อ 28 September 2016.
  11. Ayd, Frank J. (2000). Lexicon of Psychiatry, Neurology, and the Neurosciences. Lippincott Williams & Wilkins. p. 332. ISBN 978-0-7817-2468-5. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 September 2017.
  12. Dörwald, Florencio Zaragoza (2013). Lead Optimization for Medicinal Chemists: Pharmacokinetic Properties of Functional Groups and Organic Compounds. John Wiley & Sons. p. 225. ISBN 978-3-527-64565-7. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 October 2016.
  13. "Benadryl". Ohio History Central. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 October 2016. สืบค้นเมื่อ 28 September 2016.

อ่านเพิ่ม แก้

แหล่งข้อมูลอื่น แก้