โรคแอมิลอยด์ หรือ แอมิลอยโดซิส (อังกฤษ: amyloidosis) เป็นกลุ่มของโรคที่ทำให้มีโปรตีนผิดปกติสะสมอยู่ในเนื้อเยื่อส่วนต่างๆ เรียกโปรตีนผิดปกตินี้ว่า แอมิลอยด์[4] ผู้ป่วยอาจมีอาการได้หลายอย่าง ส่วนใหญ่เป็นอาการแบบไม่เฉพาะเจาะจง[5] อาการเหล่านี้ เช่น อ่อนเพลีย แขนขาบวม น้ำหนักลด หายใจลำบาก ใจสั่น ความดันเลือดลดต่ำเมื่อเปลี่ยนท่า เป็นต้น[5] ในผู้ป่วยโรคแอมิลอยด์ชนิด AL อาจมีอาการที่ค่อนข้างจำเพาะ คือ ลิ้นใหญ่ และมีรอยช้ำรอบตาได้[5] ในขณะที่ผู้ป่วยโรคแอมิลอยด์ชนิด ATTR แบบธรรมชาติ (wile-type) อาจพบอาการปวดข้อมือทั้งสองข้างจากกลุ่มอาการคาร์ปัลทันเนล ช่องไขสันหลังส่วนเอวตีบ เส้นเอ็นกล้ามเนื้อไบเซ็พฉีกขาด โรคของเส้นประสาทชนิดเส้นใยเล็ก และการทำงานผิดปกติของระบบประสาทอัตโนมัติ[5]

โรคแอมิลอยด์
(Amyloidosis)
Classic facial features of AL amyloidosis with bleeding under the skin (bruising) around the eyes[1]
สาขาวิชาHematology, Endocrinology, rheumatology, cardiology
อาการFeeling tired, weight loss, swelling of the legs, shortness of breath, bleeding, feeling light headed with standing[2]
การตั้งต้น55–65 years old[2]
สาเหตุGenetic or acquired[3]
วิธีวินิจฉัยTissue biopsy[2]
การรักษาSupportive care, directed at the underlying cause, dialysis, organ transplantation[3]
พยากรณ์โรคImproved with treatment[3]
ความชุก3–13 per million per year (AL amyloidosis)[2]
การเสียชีวิต1 per 1,000 people (developed world)[3]
Skin features of amyloidosis cutis dyschromica. Hyperpigmented and hypopigmented macules on (A) lower legs, (B) back and waist, (C) waist. (D) Individual blisters on upper arm

อ้างอิง แก้

  1. Hawkins P (29 April 2015). "AL amyloidosis". Wikilite.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 December 2015. สืบค้นเมื่อ 19 December 2015.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Haz2013
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Pep2006
  4. "AL amyloidosis". rarediseases.info.nih.gov (ภาษาอังกฤษ). Genetic and Rare Diseases Information Center (GARD). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 April 2017. สืบค้นเมื่อ 22 April 2017.
  5. 5.0 5.1 5.2 5.3 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Gertz_2020

แหล่งข้อมูลอื่น แก้

การจำแนกโรค
ทรัพยากรภายนอก

แม่แบบ:Amyloidosis