โตเกียวเมโทร
ผู้ให้บริการรถไฟในโตเกียว
โตเกียวเมโทร (ญี่ปุ่น: Tokyo Metro; โรมาจิ: 東京メトロ; ทับศัพท์: Tōkyō Metoro) เป็นหนึ่งในสองระบบขนส่งมวลชนเร็ว ในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น (อีกระบบคือ都営地下鉄) เป็นหนึ่งในระบบขนส่งมวลชนใต้ดินที่มีผู้โดยสารเดินทางมากที่สุดในโลก โดยในปี พ.ศ. 2552 มีจำนวนผู้โดยสารกว่า 6.33 ล้านคนต่อวัน[2] หรือกว่า 3.16 พันล้านคนต่อปี[3][4][5][6]
![]() | |||
ข้อมูลทั่วไป | |||
---|---|---|---|
ที่ตั้ง | โตเกียว | ||
ประเภท | รถไฟฟ้าใต้ดิน | ||
จำนวนสาย | 9 | ||
จำนวนสถานี | 168 | ||
ผู้โดยสารต่อวัน | 6,307,390 คน (2010)[1] | ||
การให้บริการ | |||
ผู้ดำเนินงาน | บริษัท โตเกียวเมโทร จำกัด | ||
ข้อมูลทางเทคนิค | |||
ระยะทาง | 203.4 กม. (126.4 ไมล์) | ||
รางกว้าง | 1,067 มม. (3 ฟุต 6 นิ้ว) (1435 สำหรับสายกินซะ และสายมะรุโนะอุชิ) | ||
|
โตเกียวเมโทรดำเนินงานโดย บริษัท โตเกียวเมโทร จำกัด. ซึ่งเป็นบริษัทเอกชน โดยมีรัฐบาลญี่ปุ่นและเทศบาลนครโตเกียวเป็นเจ้าของร่วมกัน
เส้นทาง แก้
สีเส้นทาง | สัญลักษณ์ | หมายเลขเส้นทาง | สาย | ชื่อญี่ปุ่น | เส้นทาง | จำนวนสถานี | ความยาว | ขนาดราง | ระบบจ่ายไฟ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ส้ม | สาย 3 | สายกินซะ | 銀座線 | ชิบุยะ ถึง อะซะกุสะ | 19 | 14.3 กม. | 1,435 มม. | 600 V DC, รางที่สาม | |
แดง | สาย 4 | สายมะรุโนะอุชิ | 丸ノ内線 | โอะงิคุโบะ ถึง อิเกะบุกุโระ | 28 | 24.2 กม. | |||
สายมะรุโนะอุชิสายย่อย | 丸ノ内線分岐線 | นะกะโนะ-สะคะอุเอะ ถึง โฮนันโจ | 4 | 3.2 กม. | |||||
เทา | สาย 2 | สายฮิบิยะ | 日比谷線 | นะกะ-เมะงุโระ ถึง คิตะเซ็นจุ | 21 | 20.3 กม. | 1,067 มม. | 1,500 V DC, จ่ายไฟเหนือตัวรถ | |
ฟ้า | สาย 5 | สายโตไซ | 東西線 | นะกะโนะ ถึง นิชิฟุนะบะชิ | 23 | 30.8 กม. | |||
เขียว | สาย 9 | สายจิโยะดะ | 千代田線 | โยะโยะงิ-อุเอะฮะระ ถึง คิตะ-อะยะเสะ | 20 | 24.0 กม. | |||
เหลือง | สาย 8 | สายยูระกุโช | 有楽町線 | วะโกชิ ถึง ชินคิบะ | 24 | 28.3 กม. | |||
ม่วง | สาย 11 | ฮันโซมอน | 半蔵門線 | ชิบุยะ ถึง โอะชิอะเกะ | 14 | 16.8 กม. | |||
ฟ้าน้ำทะเล | สาย 7 | สายนัมโบะกุ | 南北線 | เมะงุโระ ถึง อะกะบะเนะ-อิวะบุชิ | 19 | 21.3 กม. | |||
น้ำตาล | สาย 13 | สายฟุกุโตะชิน | 副都心線 | วะโกชิ ถึง ชิบุยะ | 16 | 20.2 กม. |
แหล่งข้อมูลอื่น แก้
อ้างอิง แก้
- ↑ Tokyo Metro station ridership in 2010 Train Media (sourced from Tokyo Metro) Retrieved May 28, 2012.
- ↑ Martin, Alex, "Ubiquitous Tokyo subways moving the daily masses", Japan Times, 3 สิงหาคม พ.ศ. 2553, หน้า. 3.
- ↑ โตเกียวเมโทร
- ↑ [1]
- ↑ [2]
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-03-23. สืบค้นเมื่อ 2011-01-29.