กลุ่มอาการแอสเปอร์เจอร์

(เปลี่ยนทางจาก แอสเพอร์เกอร์)

กลุ่มอาการแอสเปอร์เจอร์[9] หรือ แอสเพอร์เกอร์[10] (อังกฤษ: Asperger syndrome (AS) หรือ Asperger's) เป็นโรคในกลุ่มออทิซึมสเปกตรัมโรคหนึ่ง ผู้ป่วยจะมีความบกพร่องในการเข้าสังคม และมีแบบแผนของพฤติกรรมและความสนใจที่เป็นรูปแบบเฉพาะและซ้ำ ๆ โรคนี้ต่างจากโรคในกลุ่มออทิซึมสเปกตรัมโรคอื่นตรงที่ผู้ป่วยจะมีความสามารถทางภาษาและสติปัญญาค่อนข้างเป็นปกติ เมื่อเทียบกับโรคอื่น ๆ ในกลุ่มออทิซึมสเปกตรัมด้วยกัน

กลุ่มอาการแอสเปอร์เจอร์
ชื่ออื่นAsperger's syndrome, Asperger disorder (AD), Asperger's, schizoid disorder of childhood,[1] autistic psychopathy,[1] high functioning autism[2]
เด็กชายซึ่งมีอาการแอสเปอร์เจอร์กำลังเล่นกับโครงสร้างคล้ายโมเลกุล
มีความสนใจที่จำกัดหรือพฤติกรรมทำซ้ำ ๆ เช่น เด็กชายซึ่งสนใจในการเล่นโมเดลของเล่นคล้ายโมเลกุลตลอด อาจมีอาการแอสเปอร์เจอร์
การออกเสียง
สาขาวิชาจิตเวชศาสตร์
อาการมีปัญหาด้านปฏิสัมพันธ์ทางสังคม มีพฤติกรรมที่จำกัดและทำซ้ำ ๆ[5]
การตั้งต้นก่อนอายุ 2 ปี[5]
ระยะดำเนินโรคระยะยาว[5]
สาเหตุยังไม่ทราบ[5]
วิธีวินิจฉัยขึ้นอยู่กับอาการ[6]
การรักษาฝึกฝนทักษะทางสังคม การบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม, กายภาพบำบัด, อรรถบำบัด, ฝึกอบรมผู้ปกครอง[7]
ยาเฉพาะอาการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง[7]
ความชุก37.2 ล้าน (2558)[8]

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 World Health Organization (2016). "International Statistical Classification of Diseases and Related Health Problems 10th Revision (ICD-10): F84.5 Asperger syndrome". สืบค้นเมื่อ 2 พฤศจิกายน 2018.
  2. Shiland, Betsy J. (2014). Medical Terminology & Anatomy for ICD-10 Coding (E-book) (ภาษาอังกฤษ). Elsevier Health Sciences. p. 518. ISBN 9780323290784.
  3. "Asperger syndrome definition and meaning | Collins English Dictionary". www.collinsdictionary.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 16 พฤษภาคม 2018.
  4. "Asperger's syndrome". Oxford Dictionaries. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 ตุลาคม 2016. สืบค้นเมื่อ 16 พฤษภาคม 2018.
  5. 5.0 5.1 5.2 5.3 "Autism Spectrum Disorder". National Institute of Mental Health. กันยายน 2015. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 มีนาคม 2016. สืบค้นเมื่อ 12 มีนาคม 2016.
  6. "Autism Spectrum Disorders – Pediatrics". Merck Manuals Professional Edition (ภาษาอังกฤษแบบแคนาดา). สืบค้นเมื่อ 26 มกราคม 2019.
  7. 7.0 7.1 National Institute of Neurological Disorders and Stroke (NINDS) (31 กรกฎาคม 2007). "Asperger syndrome fact sheet". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 สิงหาคม 2007. สืบค้นเมื่อ 24 สิงหาคม 2007. NIH Publication No. 05-5624.
  8. Vos T, Allen C, Arora M, Barber RM, Bhutta ZA, Brown A, และคณะ (GBD 2015 Disease and Injury Incidence and Prevalence Collaborators) (ตุลาคม 2016). "Global, regional, and national incidence, prevalence, and years lived with disability for 310 diseases and injuries, 1990–2015: a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2015". Lancet. 388 (10053): 1545–602. doi:10.1016/S0140-6736(16)31678-6. PMC 5055577. PMID 27733282.
  9. "ICD-10-TM Online บัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศ ฉบับประเทศไทย". thcc.or.th. สืบค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2019.
  10. "Asperger syndrome (อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.)". Longdi Dict. Metamedia Technology. สืบค้นเมื่อ 8 พฤษภาคม 2022.