แม่น้ำแอมะซอน (อังกฤษ: Amazon River; โปรตุเกส: Rio Amazonas; สเปน: Río Amazonas) เป็นแม่น้ำในทวีปอเมริกาใต้ มีต้นกำเนิดอยู่ที่ประเทศเปรู ไหลผ่านประเทศโคลอมเบีย และไหลออกมหาสมุทรแอตแลนติกที่ประเทศบราซิล มีความยาวทั้งสิ้นประมาณ 6,992 กิโลเมตร เป็นแม่น้ำที่มีปากแม่น้ำกว้างที่สุดในโลก ซึ่งอยู่บริเวณทางเหนือของบราซิล แม่น้ำแอมะซอนเป็นแม่น้ำสายที่มีปริมาณน้ำมากที่สุด ในฤดูฝน ปริมาณน้ำที่ไหลออกยังมหาสมุทรแอตแลนติกมากถึง 45 ล้านแกลลอนต่อวินาที ฝนที่ตกในลุ่มแม่น้ำแอมะซอนเฉลี่ยปีละ 3 เมตร (สูงสุด 6 เมตร) แต่ฝนจะตกเพียงไม่กี่เดือน ต่างกันไปตามแต่ละสถานที่ ในช่วงฤดูแล้งราวเดือนตุลาคม น้ำจะลดปริมาณลงจนเห็นสันทรายและเกิดเป็นทะเลสาบต่าง ๆ บางแห่งตัดขาดจากกัน ในฤดูน้ำหลากน้ำจะท่วมป่าทุกปี ในเนื้อที่ประมาณ 350,000 ตารางกิโลเมตร ขนาดเท่าประมาณประเทศเยอรมนี และยังถือเป็นแม่น้ำที่มีปริมาณน้ำมากถึง 1 ใน 5 ส่วนของโลก มีแม่น้ำสาขาที่แยกออกจากแอมะซอนมากกว่า 1,100 สาขา อีกทั้งยังถือเป็นแม่น้ำที่มีความหลากหลายทางชีวภาพมากที่สุดในโลก เป็นแม่น้ำที่มีความหลากหลายทางชนิดพันธุ์ปลามากที่สุดในโลก กว่า 5,600 ชนิด ซึ่งนับว่ามากกว่ามหาสมุทรแอตแลนติกเสียอีก[16][ต้องการแหล่งอ้างอิงดีกว่านี้] ในทุก ๆ ปี จะมีการค้นพบปลาสายพันธุ์ใหม่ที่แม่น้ำแห่งนี้ถึงปีละ 50 ชนิด[17][18]

แม่น้ำแอมะซอน
Rio Amazonas
แม่น้ำแอมะซอน
แม่น้ำแอมะซอนและลุ่มน้ำ
ชื่อท้องถิ่นAmazonas  (โปรตุเกส)
ที่ตั้ง
ประเทศเปรู, โคลอมเบีย, บราซิล
เมืองอิกิโตส (เปรู); เลติเซีย (โคลอมเบีย);
ทาบาตินก้า (บราซิล); เตเฟ (บราซิล);
Itacoatiara (บราซิล) พารินทินส์ (บราซิล);
ออบีดุช (บราซิล); ซังตาไร (บราซิล);
อัลไมริม (บราซิล); มากาปา (บราซิล);
มาเนาช์ (บราซิล)
ลักษณะทางกายภาพ
ต้นน้ำRío Apurimac, Mismi Peak
 • ตำแหน่งแคว้นอาเรกิปา, เปรู
 • พิกัด15°31′04″S 71°41′37″W / 15.51778°S 71.69361°W / -15.51778; -71.69361
 • ระดับความสูง5,220 เมตร (17,130 ฟุต)
ปากน้ำเปรู
 • ตำแหน่ง
บราซิล
 • พิกัด
0°42′28″N 50°5′22″W / 0.70778°N 50.08944°W / 0.70778; -50.08944[1]
ความยาว6,992 กิโลเมตร (4,345 ไมล์)[n 1]
พื้นที่ลุ่มน้ำ7,000,000 ตารางกิโลเมตร (2,700,000 ตารางไมล์)[2] 6,743,000 ตารางกิโลเมตร (2,603,000 ตารางไมล์)[5]
ความกว้าง 
 • ต่ำสุด1 กิโลเมตร (0.62 ไมล์)
 • สูงสุด100 กิโลเมตร (62 ไมล์)
ความลึก 
 • ต่ำสุด20 เมตร (66 ฟุต)
 • สูงสุด100 เมตร (330 ฟุต)
อัตราการไหล 
 • ตำแหน่งมหาสมุทรแอตแลนติก (ใกล้ปากน้ำ)
 • เฉลี่ย209,103 cubic metre per second (7,384,400 cubic foot per second)[6][7]

(ความจุ: 5,956,000 ตารางกิโลเมตร (2,300,000 ตารางไมล์)[8]

205,603.262 cubic metre per second (7,260,810.7 cubic foot per second)[9]

(ความจุ: 5,912,760.5 ตารางกิโลเมตร (2,282,929.6 ตารางไมล์)[10]
 • ต่ำสุด180,000 cubic metre per second (6,400,000 cubic foot per second)
 • สูงสุด340,000 cubic metre per second (12,000,000 cubic foot per second)
อัตราการไหล 
 • ตำแหน่งแอมะซอนเดลต้า, แอมะซอน/โตกังจิงช์/ปารา
 • เฉลี่ย230,000 cubic metre per second (8,100,000 cubic foot per second)[5] (ความจุ: 6,743,000 ตารางกิโลเมตร (2,603,000 ตารางไมล์)[5] ถึง 7,000,000 ตารางกิโลเมตร (2,700,000 ตารางไมล์)[2]
อัตราการไหล 
 • ตำแหน่งซังตาเรย์
 • เฉลี่ย191,624.043 cubic metre per second (6,767,139.2 cubic foot per second)[11]
อัตราการไหล 
 • ตำแหน่งออบีดุช (800 กิโลเมตรเหนือปากน้ำ - ความจุ: 4,704,076 ตารางกิโลเมตร (1,816,254 ตารางไมล์)
 • เฉลี่ย173,272.643 cubic metre per second (6,119,065.6 cubic foot per second)[13]

(ข้อมูล: 1928-1996)176,177 cubic metre per second (6,221,600 cubic foot per second)[12]

(ข้อมูล: 01/01/1997-31/12/2015)178,193.9 cubic metre per second (6,292,860 cubic foot per second)[14]
 • ต่ำสุด75,602 cubic metre per second (2,669,900 cubic foot per second)[12]
 • สูงสุด306,317 cubic metre per second (10,817,500 cubic foot per second)[12]
อัตราการไหล 
 • ตำแหน่งManacapuru, Solimões (ความจุ: 2,147,736 ตารางกิโลเมตร (829,246 ตารางไมล์)
 • เฉลี่ย(ข้อมูล: 01/01/1997-31/12/2015)105,720 cubic metre per second (3,733,000 cubic foot per second)[15]
ลุ่มน้ำ
ลำน้ำสาขา 
 • ซ้ายMarañón, Nanay, Napo, Ampiyaçu, Japurá/Caquetá, Rio Negro/Guainía, Putumayo, Badajós, Manacapuru, Urubu, Uatumã, Nhamundá, Trombetas, Maicurú, Curuá, Paru, Jari
 • ขวาUcayali, Jandiatuba, Javary, Jutai, Juruá, Tefé, Coari, Purús, Madeira, Paraná do Ramos, Tapajós, Curuá-Una, Xingu, Pará, Tocantins, Acará, Guamá

หมายเหตุ

แก้
  1. The length of the Amazon River is usually said to be "at least" 6,400 กิโลเมตร (4,000 ไมล์),[2] but reported values lie anywhere between 6,275 และ 7,025 กิโลเมตร (3,899 และ 4,365 ไมล์).[3] The length measurements of many rivers are only approximations and differ from each other because there are many factors that determine the calculated river length, such as the position of the geographical source and the mouth, the scale of measurement, and the length measuring techniques (for details see also List of rivers by length).[3][4]

อ้างอิง

แก้
  1. Amazon River ที่ GEOnet Names Server
  2. 2.0 2.1 2.2 "Amazon River". Encyclopædia Britannica. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 November 2020.
  3. 3.0 3.1 Liu, Shaochuang; Lu, P; Liu, D; Jin, P; Wang, W (1 March 2009). "Pinpointing the sources and measuring the lengths of the principal rivers of the world". Int. J. Digital Earth. 2 (1): 80–87. Bibcode:2009IJDE....2...80L. doi:10.1080/17538940902746082. S2CID 27548511. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 December 2018. สืบค้นเมื่อ 29 December 2018.
  4. "Where Does the Amazon River Begin?". National Geographic News. 15 February 2014. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 March 2019. สืบค้นเมื่อ 25 December 2018.
  5. 5.0 5.1 5.2 "CORPOAMAZONIA - TRÁMITES PARA APROVECHAMIENTO FORESTAL" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2023-01-06. สืบค้นเมื่อ 2022-04-26.
  6. Pierre, Ribstein; Bernard, Francou; Anne, Coudrain Ribstein; Philippe, Mourguiart (1995). "EAUX, GLACIERS & CHANGEMENTS CLIMATIQUES DANS LES ANDES TROPICALES - Institut Français d'Études Andines - Institut Français de Recherche Scientifique pour le Développement en Cooperation" (PDF).
  7. Seyler, Patrick; Laurence Maurice-Bourgoin; Jean Loup Guyot. "Hydrological Control on the Temporal Variability of Trace Element Concentration in the Amazon River and its Main Tributaries". Geological Survey of Brazil (CPRM). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 กรกฎาคม 2011. สืบค้นเมื่อ 24 กรกฎาคม 2010.
  8. Jacques Callède u. a.: Les apports en eau de l'Amazone à l'Océan Atlantique. In: Revue des sciences de l'eau / Journal of Water Science. Bd. 23, Nr. 3, Montreal 2010, S. 247–273 (abgerufen am 19. August 2013)
  9. "Rivers Network". 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-06-28. สืบค้นเมื่อ 2022-04-26.
  10. "Rivers Network". 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-06-28. สืบค้นเมื่อ 2022-04-26.
  11. "Rivers Network". 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-05-25. สืบค้นเมื่อ 2022-04-26.
  12. 12.0 12.1 12.2 GRDC: Daten des Pegels Óbidos
  13. "Rivers Network". 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-05-25. สืบค้นเมื่อ 2022-04-26.
  14. Jamie, Towner (2019). "Assessing the performance of global hydrological models for capturing peak river flows in the Amazon basin" (PDF).
  15. Jamie, Towner (2019). "Assessing the performance of global hydrological models for capturing peak river flows in the Amazon basin" (PDF).
  16. "Planet Earth 19 ธันวาคม 2558 พิภพโลก ตอนที่ 3". นาว 26. 19 December 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-05. สืบค้นเมื่อ 10 January 2016.
  17. James S. Albert; Roberto E. Reis (2011). Historical Biogeography of Neotropical Freshwater Fishes. University of California Press. p. 308. ISBN 978-0-520-26868-5. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 December 2011. สืบค้นเมื่อ 28 June 2011.
  18. Wohl, Ellen (2011). A World of Rivers: Environmental Change on Ten of the World's Great Rivers. Chicago. p. 27. ISBN 978-0-226-90478-8.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้

0°10′00″S 49°00′00″W / 0.166667°S 49°W / -0.166667; -49