แมคดอนเนลล์ ดักลาส เอ็มดี-11

แมคดอนเนลล์ ดักลาส เอ็มดี-11 เป็นเครื่องบินสามเครื่องยนต์ ผลิตโดยแมคดอนเนลล์ดักลาส และโบอิ้งหลังจากควบรวมกิจการกันแล้ว มีต้นแบบมาจากแมคดอนเนลล์ ดักลาส ดีซี-10 เน้นใช้วัสดุผสมเป็นหลัก ใช้เครื่องยนต์ขับเคลื่อน 3 เครื่อง แต่ก็สิ้นเปลืองเชื้อเพลิงมากกว่าเครื่องบินแบบ 2 เครื่องยนต์ และเกิดอุบัติเหตุบ่อยทำให้ไม่เป็นที่นิยมนัก ผลิตออกมาได้แค่ 200 ลำ มีทั้งแบบโดยสารและแบบขนส่งสินค้า  แบบโดยสารออกบินครั้งสุดท้ายในปี พ.ศ. 2557 ส่วนแบบขนส่งสินค้ายังคงมีเที่ยวบินใช้งานอยู่

แมคดอนเนลล์ ดักลาส เอ็มดี-11

เอ็มดี 11 ของการบินไทย
ข้อมูลทั่วไป
บทบาทอากาศยานไอพ่นลำตัวกว้าง
ชาติกำเนิดสหรัฐอเมริกา
บริษัทผู้ผลิตแมคดอนเนลล์ ดักลาส (พ.ศ. 2531-2540)
เครื่องบินพาณิชย์โบอิง (พ.ศ. 2540-2543)
สถานะในประจำการแบบเครื่องบินขนส่งสินค้า
ผู้ใช้งานหลักเฟดเอกซ์ เอกซ์เพรส
ลุฟต์ฮันซา คาร์โก
ยูพีเอส แอร์ไลน์
เวสต์เทิร์นโกลบัลแอร์ไลน์
จำนวนที่ผลิต200 ลำ
ประวัติ
สร้างเมื่อพ.ศ. 2531-2543
เริ่มใช้งานธันวาคม พ.ศ. 2533 กับฟินน์แอร์
เที่ยวบินแรก10 มกราคม พ.ศ. 2533

ประวัติ

แก้

การผลิตและใช้งาน

แก้
 
เปรียบเทียบระหว่าง แมคดอนเนลล์ ดักลาส เอ็มดี-11(น้ำเงิน)และแมคดอนเนลล์ ดักลาส ดีซี-10(เหลือง)

ในวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2529 แมคดอนเนลล์ ดักลาส เอ็มดี-11 มีการสั่งซื้อจาก 52 บริษัทและ 40 ตัวเลือก[1] ในสามรุ่น คือ โดยสาร โดยสารกับขนส่งสินค้า และขนส่งสินค้า โดยเปิดเผยว่ามีสิบสายการบิน (อาลีตาเลีย, บริติช ไพโอเนียน, ดรากอนแอร์, เฟดเอกซ์ เอกซ์เพรส, ฟินน์แอร์, โคเรียนแอร์, สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม, สวิตแอร์, การบินไทยและ Varig และอีกสองบริษัทลีสซิ่ง (ที่ให้เช่าหรือให้ผ่อนเครื่องบิน) คือ Guinness Peat Aviation และ Mitsui[1] อย่างไรก็ตาม ดรากอนแอร์, สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม และยูทีเอซึ่งไม่ได้มีรายชื่อที่เปิดเผยข้างต้นในตอนแรก ได้ยกเลิกคำสั่งซื้อของตนใน พ.ศ. 2531

ประวัติเที่ยวบิน

แก้

เที่ยวบินแรก

แก้

เที่ยวบินปลดประจำการ

แก้

สายการบิน เคแอลเอ็ม เป็นสายการบินสุดท้าย ที่ให้บริการเครื่องบิน แมคดอนเนลล์ ดักลาส เอ็มดี-11 ในการขนส่งผู้โดยสาร โดยเที่ยวบินสุดท้าย เดินทางมาจาก มอนทรีออล มายังอัมสเตอร์ดัม ในเที่ยวบิน KL672 ในวันที่ 26 ตุลาคม 2557 และเคแอลเอ็มได้จัดเที่ยวบินพิเศษเพื่อเป็นการอำลาเอ็มดี-11 (MD-11 Farewell Flight) ในวันที่ 11 พฤศจิกายน 2557[2][3] เคแอลเอ็มจะนำเครื่องบินแบบ แอร์บัส เอ 330 และ โบอิง 777 มาใช้ทดแทนเอ็มดี-11

ลุฟท์ฮันซ่าคาร์โก้ได้ปลดประจำการเอ็มดี 11F ลำสุดท้ายของยุโรป ในเดือนตุลาคม ปีพ.ศ. 2564[4]

 
ห้องนักบินของ เอ็มดี-11F 

ข้อมูลจำเพาะ

แก้
 
แผนผังของเอ็มดี 11 แสดงภาพด้านหน้า, ด้านข้าง, ด้านบน, และด้านตัดขวางของเครื่องบิน
ข้อมูล
MD-11

(Passenger)

MD-11CF

(Convertible Freighter)

MD-11F

(Freighter)

MD-11C

(Combi)

MD-11ER

(Extended Range)

Seating capacity,

typical

410 (1 class)

323 (2 class)
293 (3 class)

N/A

(cargo)

290 (1 class)

214 (2 class)
181 (3 class)

410 (1 class)

323 (2 class)
293 (3 class)

Cargo capacity 32 LD3 (lower compartment) 26 pallets

+32 LD3 (lower compartment)

21,096 cu ft (597 m3)

26 pallets on the main deck
+32 LD3 (lower compartment)

6 pallets

+32 LD3 (lower compartment)

32 LD3 (lower compartment)
Total length 202 ft 2 in (61.62 m) with GE engines

200 ft 11 in (61.24 m) with PW engines

Fuselage length 192 ft 5 in (58.65 m)
Fuselage width 19 ft 9 in (6.02 m)
Wingspan 169 ft 6 in (51.66 m)
Wing area 3,648 sq ft (338.9 m2) including winglets
Tail height 57 ft 9 in (17.60 m)
Maximum Takeoff Weight

(MTOW)*

standard: 602,500 lb (273,300 kg)

heavy: 630,500 lb (286,000 kg)

standard: 625,000 lb (283,000 kg)

heavy: 630,500 lb (286,000 kg)

standard: 610,000 lb (280,000 kg)

heavy: 630,500 lb (286,000 kg)

standard: 610,000 lb (280,000 kg)

heavy: 630,500 lb (286,000 kg)

630,500 lb (286,000 kg)
Max. landing weight 430,000 lb (200,000 kg) 471,500 lb (213,900 kg)

optional:
481,000 lb (218,000 kg)
(218,405 kg)

491,500 lb (222,900 kg) 458,000 lb (208,000 kg) 491,500 lb (222,900 kg)
Operating empty weight 283,975 lb (128,809 kg) 288,296 lb (130,769 kg) 248,567 lb (112,748 kg) 283,975 lb (128,809 kg) 291,120 lb (132,050 kg)
Max. fuel capacity 38,615 US gal (146,170 L) 41,520 US gal (157,200 L)
Takeoff distance at MTOW 10,300 ft (3,100 m)
Max. range

(max. payload)

6,840 nmi (12,670 km) Pass: 6,840 nmi (12,670 km)

Freight: 3,950 nmi (7,320 km)

3,950 nmi (7,320 km) 6,720 nmi (12,450 km) 7,240 nmi (13,410 km)
Max. cruise speed 0.88 Mach (587 mph, 945 km/h, 520 kn)
Typical cruise speed 0.82 Mach (544 mph, 876 km/h, 473 kn)
Service ceiling 43,000 ft (13,000 m)
Engines (3x) Pratt & Whitney PW4460 - 60,000 lbf (270 kN)

PW4462 - 62,000 lbf (280 kN)
General Electric CF6-80C2D1F - 61,500 lbf (274 kN)

ผู้ให้บริการ

แก้

ณ เดือนตุลาคม ปีพ.ศ. 2564 ฝูงบิน เอ็มดี-11 ทั่วโลกมีเครื่องบินให้บริการเชิงพาณิชย์ทั้งหมด 102 ลำ โดยมีผู้ให้บริการขนส่งสินค้า ได้แก่ เฟดเอ็กซ์ เอกซ์เพรส (57), ยูพีเอส แอร์ไลน์ (42) และเวสเทิร์น โกลบอล แอร์ไลน์ (13)

อุบัติเหตุและอุบัติการณ์สำคัญ

แก้

อุบัติเหตุ

แก้

สวิสแอร์ เที่ยวบินที่ 111

แก้

เที่ยวบินที่ 111 เป็นเที่ยวบินที่กำหนดจากนิวยอร์กไปยังเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2541[5] เครื่องบินลำดังกล่าวคือ McDonnell Douglas MD-11 บนเรือมีผู้โดยสาร 215 คนและลูกเรือ 14 คน[6] เครื่องบินถูกไฟไหม้ห้องนักบิน[6] มันชนเข้ากับมหาสมุทรแอตแลนติกใกล้โนวาสโกเชีย เสียชีวิตทั้งหมด 229 ราย มันเป็นอุบัติเหตุที่เลวร้ายที่สุดครั้งที่สองที่เคยเกิดขึ้นในพื้นที่แฮลิแฟกซ์ โนวาสโกเชีย[7]

เฟดเอกซ์ เอกซ์เพรส เที่ยวบินที่ 80

แก้

อุบัติการณ์

แก้

เฟดเอกซ์ เอกซ์เพรส เที่ยวบินที่ 14

แก้

เครื่องบินที่คล้ายกัน

แก้

รุ่นที่ใกล้เคียงกัน

แก้

เครื่องบินที่ใกล้เคียงกัน

แก้

อ้างอิง

แก้

Citations

แก้
  1. 1.0 1.1 "McDonnell-Douglas MD-11". pilotfriend.com. สืบค้นเมื่อ August 25, 2017.
  2. "KLM Operates Last MD-11 Passenger Flight". KLM.com
  3. "Win two last tickets for KLM's MD-11 Farewell Flights on 11 November". KLM.com
  4. https://lufthansa-cargo.com/en/newsroom#/pressreleases/the-last-md-11f-leaves-lufthansa-cargo-3137028
  5. http://www.cbc.ca/news/canada/nova-scotia/swissair-flight-111-tragedy-still-raw-15-years-later-1.1329919
  6. 6.0 6.1 "#OnThisDay in 1998, Swissair Flight 111 suffers a catastrophic cockpit fire near Halifax". AIRLIVE (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2016-09-02. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-01-11. สืบค้นเมื่อ 2022-01-11.
  7. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-07-26. สืบค้นเมื่อ 2022-01-11.