เอ็มเน็ตเอเชียนมิวสิกอะวอดส์ 2020

พิธีมอบรางวัล

เอ็มเน็ตเอเชียนมิวสิกอะวอดส์ 2020 เป็นงานประกาศผลรางวัลครั้งที่ 22 ที่จัดขึ้นโดยซีเจ อีแอนด์เอ็มผ่านทางสถานีโทรทัศน์เอ็มเน็ต จัดขึ้นเมื่อวันที่ 6 ธันวาคมที่เกาหลีใต้ ด้วยธีม "NEW-TOPIA" และพิธีนี้จะจัดขึ้นโดยไม่มีผู้เข้าชม เนื่องจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 อย่างต่อเนื่อง[1][2][3]

เอ็มเน็ตเอเชียนมิวสิกอะวอดส์ 2020
วันที่6 ธันวาคม ค.ศ. 2020
ที่ตั้งเกาหลีใต้
นำเสนอโดยซง จุง-กี
รางวัลมากที่สุดบีทีเอส (8)
เสนอชื่อมากที่สุดบีทีเอส (8)
เว็บไซต์2020mama.com
โทรทัศน์/วิทยุ
เครือข่ายเอ็มเน็ต ผ่านทางสถานีโทรทัศน์ซีเจอีแอนด์เอ็ม และเครือข่ายสากล, ยูทูบ
ความยาว380 นาที (พิธีหลัก)
← 2019 · MAMA · 2021 →

เกณฑ์ แก้

หมวดหมู่เคป็อป แก้

เพลงทั้งหมดที่มีสิทธิ์ได้รับการเสนอชื่อเป็นเพลงที่ปล่อยตั้งแต่วันที่ 24 ตุลาคม 2019 ถึง 28 ตุลาคม 2020[4]

หมวด การโหวตออนไลน์ คณะกรรมการมืออาชีพของ MAMA
(ในประเทศ + ต่างประเทศ)
ยอดขายเพลง ยอดขายเทป การโหวตโซเชียลมีเดีย จำนวนการดู M/V ทั่วโลก
ศิลปินแห่งปี
หมวดหมู่ตามศิลปิน*
30% 30% 20% 20%
เพลงแห่งปี
หมวดหมู่ตามประเภท**
20% 40% 30% 10%
อัลบั้มแห่งปี 40% 60%
มิวสิกวิดีโอยอดเยี่ยม 70% 30%
ไอคอนทั่วโลกแห่งปี
10 อันดับแรกของโลกโดยแฟนตลับ
60% 20% 20%
*Best New (M)ale/(F)emale Artist, Best M/F Artist, Best M/F Group
**Best Dance Performance (Solo/M/F Group), Best Vocal Performance (M/F/Group), Best HipHop & Urban Music, Best Band Performance, Best Collaboration, Best OST
***Social Media (Twitter) Voting

ผู้ชนะและผู้ได้รับการเสนอชื่อ แก้

ผู้ชนะจะแสดงเป็นอันดับแรกและไฮไลต์ด้วยตัวหนา เปิดโหวตออนไลน์บนเว็บไซต์ MAMA อย่างเป็นทางการและทวิตเตอร์ หลังจากประกาศรายชื่อผู้เข้าชิงในวันที่ 29 ตุลาคม 2020 1 ชั่วโมง และการโหวตสิ้นสุดในวันที่ 5 ธันวาคม 2020[5]

รางวัลหลัก แก้

ศิลปินแห่งปี
(แดซัง)
เพลงแห่งปี
(แดซัง)
อัลบั้มแห่งปี
(แดซัง)
ไอคอนทั่วโลกแห่งปี
(แดซัง)
กลุ่มศิลปินชายยอดเยี่ยม กลุ่มศิลปินหญิงยอดเยี่ยม
ศิลปินชายยอดเยี่ยม ศิลปินหญิงยอดเยี่ยม
การแสดงประเภทเต้นยอดเยี่ยม – กลุ่มศิลปินชาย การแสดงประเภทเต้นยอดเยี่ยม – กลุ่มศิลปินหญิง
การแสดงประเภทเต้นยอดเยี่ยม – ศิลปินเดี่ยว การแสดงประเภทร้องยอดเยี่ยม – ศิลปินเดี่ยว
การแสดงประเภทร้องยอดเยี่ยม – ศิลปินกลุ่ม สาขาการร่วมงานกันยอดเยี่ยม
ศิลปินชายหน้าใหม่ยอดเยี่ยม ศิลปินหญิงหน้าใหม่ยอดเยี่ยม
เพลงประกอบยอดเยี่ยม การแสดงประเภทวงดนตรียอดเยี่ยม
เพลงฮิปฮอปยอดเยี่ยม มิวสิกวิดีโอยอดเยี่ยม
  • จีโค่ – "Any Song"
    • กีรีบอย - "Eul" (ร่วมกับ BIG Naughty (Seo Dong-hyun))
    • Yumdda - "Amanda" (ร่วมกับ ไซมอน โดมินิก ) (Prod. by UNTITLEDS)
    • ลี ไฮ - "Holo"
    • ชางโม - "Meteor"

ศิลปินที่ชื่นชอบ แก้

ประเภท ผู้ชนะ
Worldwide Fans' Choice Top 10
Favorite Dance Performance – Female Solo เจสซี – "Nunu Nana"
Favorite Dance Performance – Male Solo แทมิน – "Criminal"
Favorite Dance Performance – Group ทีบายที – "Can't You See Me?"
Favorite Asian Artist เวย์วี
Favorite Female Group ไอซ์วัน
Favorite Male Group เอ็นซีที
Global Favorite Performer เซเวนทีน

รางวัลพิเศษ แก้

ประเภท ผู้ชนะ
Best Asian Artist ญี่ปุ่น Official Hige Dandism
จีนกลาง G.E.M.
ไทย อิ้งค์ วรันธร
อินโดนีเซีย Rizky Febian
เวียดนาม Binz
Best New Asian Artist ญี่ปุ่น Fujii Kaze
จีนกลาง Chih Siou
ไทย มิลลิ
อินโดนีเซีย Tiara Andini
เวียดนาม Amee
Best New Asian Artist เจโอวัน
Discovery of the Year เอทีซ
Best of Next คราวิตี
Best Stage มอนสตาเอ็กซ์
Notable Achievement Artist เซเวนทีน
Inspired Achievement โบอา
Most Popular Artist ทไวซ์

หลายรางวัล แก้

ศิลปินต่อไปนี้ได้รับสามรางวัลขึ้นไป:

รางวัล ศิลปิน
8 บีทีเอส
3 แบล็กพิงก์
ไอยู
เซเวนทีน

ออกอากาศ แก้

ประเทศ เครือข่าย
ทั่วโลก[a] ยูทูบ (Mnet K-Pop & KCON), mwave.me
สหรัฐ KCON USA
เกาหลีใต้ เอ็มเน็ต, TVING, O'live, XtvN
ญี่ปุ่น Mnet Smart, Mnet Japan, au Smart Pass
ฮ่องกง จูกซ์,[6] ViuTV, ViuTVsix, viu.tv ทีวีเอ็นเอเชีย
ไต้หวัน FET Friday video, FET Friday Music
ฟิลิปปินส์ GigaFest (Smart Communications)[7]
สิงคโปร์ MeWATCH
อินโดนีเซีย อินโดซียาร์,[8] จูกซ์,[9] Vidio
มาเลเซีย จูกซ์[6]
ไทย
พม่า
ศรีลังกา ทีวีเอ็นเอเชีย
เวียดนาม FPT TV, Foxy
แอฟริกาใต้สะฮารา ทีวีเอ็นเอเชีย (ผ่าน ดีเอสทีวี)[10]
  1. จำกัดการเข้าถึงในบางประเทศ เนื่องจากสิทธิ์ในการออกอากาศ

อ้างอิง แก้

  1. Park, Sae-jin (2020-09-21). "Mnet to hold online Asian music award event due to COVID-19 pandemic". Aju Daily. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-11-17. สืบค้นเมื่อ 2020-09-21.
  2. Yonhap (2020-09-21). "K-pop awards show MAMA to be held online due to COVID-19". The Korea Herald. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-11-17. สืบค้นเมื่อ 2020-09-21.
  3. Jang, Dong-woo (2020-09-21). "K-pop awards show MAMA to be held online due to COVID-19". Yonhap News Agency. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-11-17. สืบค้นเมื่อ 2020-09-21.
  4. "MAMA Judging Criteria - Understanding for Voting System | Mwave". mama.mwave.me (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 6, 2020. สืบค้นเมื่อ December 6, 2020.
  5. "2020 MAMA VOTE". mama.mwave.me. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 6, 2020. สืบค้นเมื่อ December 6, 2020.
  6. 6.0 6.1 "JOOX delivers K-pop's best and brightest for 5th straight year with 2020 MAMA livestreaming and VOD, for users in Hong Kong, Indonesia, Malaysia, Myanmar and Thailand-PR Newswire APAC". en.prnasia.com (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-04-12. สืบค้นเมื่อ 2020-11-29.
  7. "Get ready to stan your favorite k pop idols and celebrate their music at the #Smart2020MAMA. Raising hands". Twitter (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-11-20. สืบค้นเมื่อ 2020-11-22.
  8. "Kabar Baik, 'MAMA 2020' Bakal Tayang di Indosiar". Kpop Chart (ภาษาอินโดนีเซีย). 2020-11-12. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-11-17. สืบค้นเมื่อ 2020-11-13.
  9. "JOOX Tayangkan MAMA 2020 Secara Langsung". Fimela (ภาษาอินโดนีเซีย). 2020-11-26. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-11-30. สืบค้นเมื่อ 2020-11-27.
  10. "5 new channels coming to DStv". Channel. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-11-17. สืบค้นเมื่อ 2020-10-29.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้