การจัดสรรทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน
แก้
เอเอฟซีจะประกาศจำนวนทีมที่ได้เข้าแข่งขันในปีนี้ โดยจะประกาศในวันที่ 26 พฤศจิกายน 2556 โดยคณะกรรมการจัดการแข่งขันได้ยึดหลักการดังนี้[1]
- สมาคมฟุตบอลในสังกัด AFC ที่มีอันดับสูงสุด 23 อันดับแรกสามารถยื่นความจำนงขอเข้าร่วมรายการเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกได้
- สมาชิกในภาคตะวันออกและตะวันตกของสมาพันธ์จะได้รับการจัดสรรทีมเข้าร่วมแข่งขันภาคละ 14 ทีม โดยอีก 2 ทีมของแต่ละภาคจะได้มาจากการเพลย์ออฟ
- ผู้ชนะเลิศและรองชนะเลิศในรายการเอเอฟซี คัพจะได้สิทธิ์เข้าร่วมเพลย์ออฟ
การประเมินสำหรับเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2014[2] |
---|
|
ผ่านเกณฑ์ทั้งหมด (> 600 คะแนน)
|
|
ผ่านเกณฑ์บางส่วน
|
|
ไม่ได้รับการประเมิน แต่ได้รับสิทธิ์
|
^ สโมสรจากคูเวตได้สิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขัน 2 สโมสรในฐานะผู้ชนะเลิศและรองชนะเลิศรายการเอเอฟซีคัพ 2013
^ สมาคมฟุตบอลอินเดียสังกัดโซนตะวันตก แต่ในการแข่งขันครั้งนี้ให้เข้าร่วมการแข่งขันในโซนตะวันออก[3]
ทีมที่เข้าร่วม
แก้
- หมายเหตุ
^ India (IND) : สโมสรปูนได้ลงเล่นในรายการเอเอฟซี แชมเปียนส์ลีกแทนที่สโมสรเชอร์ชิล บราเธอร์ เนื่องจากเชอร์ชิล บราเธอร์ส่งเอกสารคลับไลเซนส์ซิงไม่ทันเวลา สโมสรปูนจึงได้สิทธิ์ลงเล่นแทน[4]
^ Bahrain (BHR) : อัล-ฮิด จะเป็นตัวแทนของลีกประเทศบาห์เรน เนื่องจากผ่านคลับไลเซนส์ซิง.[5]
- จำนวนครั้งที่เข้าร่วมแข่งขัน นับตั้งแต่เปลี่ยนชื่อรายการเป็นเอเอฟซี แชมเปียนส์ลีกเท่านั้น
ตารางการแข่งขัน
แก้
สำหรับการกำหนดตารางการแข่งขันและการจับสลากจะประกาศและทำการจับ ณ สำนักงานสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย[6][7]
รอบ
|
การแข่งขัน
|
วันจับสลาก
|
นักแรก
|
นัดที่สอง
|
---|
รอบคัดเลือกเพลย์ออฟ
|
รอบแรก
|
10 ธันวาคม 2013
|
2 กุมภาพันธ์ 2014
|
รอบที่สอง
|
8 กุมภาพันธ์ 2014
|
รอบที่สาม
|
15 กุมภาพันธ์ 2014
|
รอบแบ่งกลุ่ม
|
นัดที่ 1
|
10 ธันวาคม 2013[8] |
25–26 กุมภาพันธ์ 2014
|
นัดที่ 2
|
11–12 มีนาคม 2014
|
นัดที่ 3
|
18–19 มีนาคม 2014
|
นัดที่ 4
|
1–2 เมษายน 2014
|
นัดที่ 5
|
15–16 เมษายน 2014
|
นัดที่ 6
|
22–23 เมษายน 2014
|
รอบแพ้คัดออก
|
รอบ 16 ทีมสุดท้าย
|
6–7 พฤษภาคม 2014
|
13–14 พฤษภาคม 2014
|
รอบก่อนรองชนะเลิศ
|
TBA
|
17 กันยายน 2014
|
30 กันยายน–1 ตุลาคม 2014
|
รอบรองชนะเลิศ
|
22 ตุลาคม 2014
|
29 ตุลาคม 2014
|
รอบชิงชนะเลิศ
|
TBA
|
TBA
|
ในวันที่ 25 พฤศจิกายน 2013, คณะกรรมการจัดการแข่งขันพิจารณาให้มีการจัดการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศในรูปแบบเหย้าและเยือน (ซึ่งแต่เดิมเคยมีมติจะให้แข่งนัดเดียว)[1][9] รวมถึงให้จัดการแข่งขันแยกโซนระหว่างตะวันออกและตะวันตก ส่งผลให้ในรอบชิงชนะเลิศจะมีตัวแทนทั้งจากฝั่งตะวันออกและฝั่งตะวันตกเข้าชิง[10]
รอบคัดเลือกเพลย์ออฟ
แก้
สำหรับวงเล็บในรอบคัดเลือกเพลย์ออฟจะถูกกำหนดโดยคะแนนประเมินสมาคมของแต่ละประเทศ หากสโมสรใดมาจากสมาคมที่มีคะแนนสูงจะได้เล่นในรอบที่ 2 และรอบที่ 3[7] การแข่งขันในแต่ละรอบนั้นเป็นการแข่งขันเพียงนัดเดียว โดยสโมสรที่มาจากสมาคมที่มีคะแนนสูงกว่าสโมสรที่พบกันจะได้เป็นเจ้าบ้าน หากในการแข่งขันไม่สามารถหาผู้ชนะได้ในเวลาปกติจะใช้การต่อเวลาพิเศษและการยิงจุดโทษตามลำดับเพื่อหาผู้ชนะเลิศเข้าสู่รอบต่อไป สโมสรที่ชนะเลิศในรอบที่ 3 จะได้สิทธิ์เข้าไปแข่งขันต่อในรอบแบ่งกลุ่ม โดยรอบนี้จะคัด 4 สโมสรเข้าไปรวมกับ 28 สโมสรที่ได้เข้ารอบมาโดยอัตโนมัติ สำหรับสโมสรของสมาคมฟุตบอลแห่งใดที่ได้สิทธิ์เข้าแข่งขันเฉพาะรอบนี้เท่านั้น หากตกรอบจะได้สิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันเอเอฟซี คัพต่อไป แต่ถ้าหากเข้ารอบแบ่งกลุ่มได้สโมสรในอันดับต่อไปในลีกจะได้สิทธิ์เล่นเอเอฟซีคัพแทน
รอบแรก
แก้
รอบสอง
แก้
รอบสาม
แก้
รอบแบ่งกลุ่ม
แก้
โดยรอบแบ่งกลุ่มมีการจับสลากแบ่งกลุ่มในวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2556[11] ซึ่งสโมสรจากประเทศเดียวกันจะไม่สามารถอยู่ในกลุ่มเดียวกันได้ โดยอันดับที่ 1 และ 2 ของกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
กลุ่ม เอ
แก้
กลุ่ม บี
แก้
กลุ่ม ซี
แก้
กลุ่ม ดี
แก้
กลุ่ม อี
แก้
กลุ่ม เอฟ
แก้
กลุ่ม จี
แก้
กลุ่ม เอช
แก้
รอบน็อกเอาท์
แก้
รอบ 16 ทีมสุดท้าย
แก้
รอบ 8 ทีมสุดท้าย
แก้
การจับสลากประกบคู่สำหรับรอบก่อนรองชนะเลิศ (รอบ 8 ทีมสุดท้าย), รอบรองชนะเลิศ, และรอบชิงชนะเลิศ (ในการตัดสินทั้งสองนัด) จะมีขึ้นในวันที่ 28 พฤษภาคม 2014. ในการจับสลากครั้งนี้, ทีมที่มาจากแตกต่างโซนจะไม่สามารถเจอะเจอกันได้จนกระทั่งถึงนัดชิงชนะเลิศ, และรอบนี้เป็นต้นไปจะไม่มีทีมวางหรือ "ทีมจากประเทศเดียวกันพบกันได้", ดังนั้นทีมจากสมาคมเดียวกันสามารถจับสลากโคจรมาพบกันได้.[12]
รอบรองชนะเลิศ
แก้
รอบชิงชนะเลิศ
แก้
รางวัล
แก้
อ้างอิง
แก้
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้