เอทีอาร์ (ATR) เป็นรถดีเซลรางปรับอากาศไม่มีห้องขับ ของการรถไฟแห่งประเทศไทย ที่นำเข้ามาใช้งานจากประเทศญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ. 2528

เอทีอาร์ (ATR)
รถดีเซลรางปรับอากาศไม่มีห้องขับ เอทีอาร์
ประจำการไทย การรถไฟแห่งประเทศไทย
ผู้ผลิตนิปปอนชาร์เรียว, ไซโซ ไกซา, ฮิตาชิ, คาวาซากิ, Subaru ฟูจิเฮฟวี่อินดัสทรี (Fuji Heavy Industry), นิอิกาตะเอ็นจิเนียริ่ง, กินกิชาร์เรียว
ผลิตที่ ญี่ปุ่น
สายการผลิตพ.ศ. 2528
ปรับปรุงใหม่พ.ศ. 2553 - ปัจจุบัน
จำนวนที่ผลิต12 คัน
จำนวนในประจำการ11 คัน
จำนวนที่ปลดระวาง1 คัน (กซม.ป. 2103)
หมายเลขตัวรถกซม.ป. 2101–2112
ความจุผู้โดยสารประมาณ 58 – 62 ที่นั่ง
ผู้ให้บริการไทย การรถไฟแห่งประเทศไทย
โรงซ่อมบำรุงโรงรถดีเซลรางกรุงเทพ, โรงรถดีเซลรางสมุทรสาคร (เฉพาะสายแม่กลอง)
สายที่ให้บริการสายเหนือ, สายตะวันออกเฉียงเหนือ, สายแม่กลอง, สายใต้ (เฉพาะวันหยุดราชการ)
คุณลักษณะ
วัสดุตัวถังสแตนเลส
ความยาว20,800 มิลลิเมตร
ความกว้าง2,815 มิลลิเมตร
ความสูง3,730 มิลลิเมตร
ทางเข้า4
จำนวนประตู4
ความเร็วสูงสุด110 กม./ชม.
น้ำหนัก37.280 ตัน (น้ำหนักรถเปล่า)
37.698 ตัน (น้ำหนักขณะทำขบวน)
เครื่องยนต์Cummins N855-R2
กำลังขับเคลื่อน235 แรงม้า ที่ 2,100 รอบต่อนาที
ชุดส่งกำลังVoith รุ่น T211R
มาตรฐานทางกว้าง1,000 mm (3 ft 3 38 in) มีเตอร์เกจ

ข้อมูลจำเพาะ แก้

อ้างอิง:[1][2]

  • ชื่อรุ่นรถ โตคิวชาเรียว - โตคิวคาร์คอร์ปอเรชัน
  • ประเภทรถ รถดีเซลรางปรับอากาศชนิดไม่มีห้องขับ
  • หมายเลขรถ กซม.ป. 2101–2112
  • เครื่องยนต์ คัมมินส์ (Cummins) N855-R2
  • กำลังขับเคลื่อน 235 แรงม้า ที่ 2,100 รอบต่อนาที
  • ระบบขับเคลื่อนแบบดั้งเดิม ใช้เครื่องถ่ายทอดกำลัง Torque Converter Voith รุ่น T211R
  • ความเร็วสูงสุด 110 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
  • ระบบปรับอากาศ Mitsubishi CU41
  • แบบล้อ 2 - 4 Wheel Bogie
  • ระบบห้ามล้อ ลมอัด
  • การจัดวางล้อ 1A-2
  • ความจุเชื้อเพลิง 350 ลิตร
  • น้ำหนักตัวรถ 37.280 ตัน (น้ำหนักรถเปล่า) 37.698 ตัน (น้ำหนักขณะทำขบวน)
  • น้ำหนักกดเพลา 12 ตัน
  • เบาะนั่ง เบาะนวม ชุดละ 2 ที่นั่ง สามารถปรับเอนได้ คล้ายกับเบาะของรถดีเซลรางสปรินเทอร์ แต่เบาะไม่สามารถหมุนกลับด้านได้ นั่งหันหน้าเข้าหากัน
  • จำนวนที่นั่ง 62 ที่นั่ง
  • ประตูรถ ประตูขึ้น-ลง เป็นแบบเลื่อนอัตโนมัติ บานเดียว มีปุ่มเปิด-ปิดประตู
  • ปุ่มเปิด-ปิดประตูขึ้น-ลง ด้านหน้าอยู่ตรงซ้ายมือ ด้านหลังอยู่ตรงขวามือ ใช้งานได้เฉพาะตอนที่รถจอดสนิทแล้วเท่านั้น
  • บริษัทผู้ผลิต โตกิวคาร์คอร์ปอเรชั่น ประเทศญี่ปุ่น
  • จำนวนรถ 12 คัน
  • ราคาต่อคัน 14,318,705.36 บาท
  • ปีที่เริ่มใช้งาน ช่วงวันที่ 10 มิถุนายน - 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2528 ใช้งานมาจนถึงปัจจุบัน

คันที่ถูกตัดบัญชี แก้

  • หมายเลข 2103 ถูกไฟไหม้จนเสียหายทั้งคัน

ขบวนรถที่พ่วงรถดีเซลรางเอทีอาร์ แก้

  • ขบวนรถด่วนที่ 71/72 กรุงเทพอภิวัฒน์ - อุบลราชธานี - กรุงเทพอภิวัฒน์
  • ขบวนรถด่วนที่ 75/78 กรุงเทพอภิวัฒน์ - หนองคาย - กรุงเทพอภิวัฒน์[a](ปัจจุบันขบวนรถด่วนที่ 78 งดให้บริการชั่วคราว)
  • ขบวนรถด่วนที่ 77/76 กรุงเทพอภิวัฒน์ - หนองคาย - กรุงเทพอภิวัฒน์[b](ปัจจุบันขบวนรถด่วนที่ 77 งดให้บริการชั่วคราว)
  • ขบวนรถเร็วที่ 105/106 กรุงเทพ - ศิลาอาสน์ - กรุงเทพ (ปัจจุบันงดให้บริการชั่วคราว)
  • ขบวนรถพิเศษนำเที่ยวที่ 909/910 กรุงเทพ(หัวลำโพง) - น้ำตกไทรโยคน้อย - กรุงเทพ(หัวลำโพง) (ถ้าใช้รถดีเซลรางทำขบวน)
  • ขบวนรถพิเศษนำเที่ยวที่ 911/912 กรุงเทพ(หัวลำโพง) - สวนสนประดิพัทธ์ - กรุงเทพ(หัวลำโพง)
  • ขบวนรถชานเมืองที่ 389/390 กรุงเทพ(หัวลำโพง) - ชุมทางฉะเชิงเทรา - กรุงเทพ(หัวลำโพง)
  • ขบวนรถชานเมือง สายวงเวียนใหญ่ - มหาชัย (หมายเลข 2101) มีพ่วงใน
    • ขบวน 4320/4322/4324/4326/4328(มหาชัย-วงเวียนใหญ่)
    • ขบวน 4321/4323/4325/4327/4329(วงเวียนใหญ่-มหาชัย)

บริษัทเอกชน ที่เคยได้รับสัมปทานการเดินรถดีเซลรางเอทีอาร์ แก้

  • บริษัท แก่นอินน์การท่องเที่ยว จำกัด (พ.ศ. 2528)[3]
  • บริษัท อาณาจักรการท่องเที่ยว/อาณาจักรโฮเต็ล จำกัด (พ.ศ. 2528)[3]
  • บริษัท เชิดชัยดีเซลราง จำกัด (พ.ศ. 2528)[3]
  • บริษัท ยูนิเวิร์สฟู้ดส์ จำกัด แผนกขอนแก่นดีเซลราง (พ.ศ. 2530)[3]

หมายเหตุ แก้

  1. ขบวนที่ 75 ใช้เส้นทางชุมทางแก่งคอย - ลำนารายณ์ - ชุมทางบัวใหญ่, ขบวนที่ 78 ใช้เส้นทางชุมทางบัวใหญ่ - นครราชสีมา - ชุมทางแก่งคอย
  2. ขบวนที่ 77 ใช้เส้นทางชุมทางแก่งคอย - นครราชสีมา - ชุมทางบัวใหญ่, ขบวนที่ 76 ใช้เส้นทางชุมทางบัวใหญ่ - ลำนารายณ์ - ชุมทางแก่งคอย

อ้างอิง แก้

  1. รถดีเซลรางปรับอากาศชนิดไม่มีห้องขับ ATR.
  2. ข้อมูลจากโรงรถดีเซลรางกรุงเทพ
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 http://portal.rotfaithai.com/modules.php?name=Forums&file=viewtopic&t=330&postdays=0&postorder=asc&start=0

แหล่งข้อมูลอื่น แก้