เรือด่วนเจ้าพระยา

เรือด่วนเจ้าพระยา (อังกฤษ: Chao Phraya Express Boat) เป็นเรือโดยสารในแม่น้ำเจ้าพระยา ให้บริการในเส้นทางปากเกร็ด-นนทบุรี-สาทร-วัดราชสิงขร โดย บริษัท เรือด่วนเจ้าพระยา จำกัด

เรือด่วนเจ้าพระยา
MRT (Bangkok) Pink Logo.svg MRT (Bangkok) Purple logo.svg MRT (Bangkok) logo.svg MRT (Bangkok) Orange logo.svg  สายสีทอง  BTS Dark Green.svg BMTA Logo2014-en.svg
Lunch at Rongros, Bangkok (Jan 2021) - img 05.jpg
เรือด่วนเจ้าพระยาขณะกำลังออกจากท่าโดยมีวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร ปรากฏอยู่เบื้องหลัง
ที่ตั้งกรุงเทพมหานคร
เส้นทางเดินเรือแม่น้ำเจ้าพระยา
ประเภทบริการเรือด่วนพิเศษ, เรือด่วนปรับอากาศ
สาย ●  ธงส้ม  นนทบุรี-วัดราชสิงขร
 ●  ธงเหลือง  นนทบุรี-สาทร
 ●  ธงเขียวเหลือง  ปากเกร็ด-สาทร
 ●  ธงแดง  นนทบุรี-สาทร
 ● เรือประจำทาง ไม่มีธง (งดให้บริการชั่วคราว)
เจ้าของกลุ่มบริษัทสุภัทรา
ผู้ดำเนินงานบริษัท เรือด่วนเจ้าพระยา จำกัด
กำกับดูแลกรมเจ้าท่า, กรุงเทพมหานคร
เริ่มดำเนินงานเมื่อพ.ศ. 2514
ความยาวของเส้นทาง32 กม. (19.88 ไมล์)
จำนวนสาย5 สาย
จำนวนเรือ65 ลำ
จุดเปลี่ยนสายทางท่าสาทร
จำนวนท่าเรือ38 ท่า
เว็บไซต์www.chaophrayaexpressboat.com
แผนที่เส้นทาง

N33
ปากเกร็ด MRT (Bangkok) Pink Logo.svg
N32
วัดกลางเกร็ด
N31/1
บ้านพักข้าราชบริพารติวานนท์
N31
กระทรวงพาณิชย์
N30/1
พระนั่งเกล้า MRT (Bangkok) Purple logo.svg
MRT (Bangkok) Purple logo.svg สะพานพระนั่งเกล้า ไทรม้า – แยกนนทบุรี 1
N30
นนทบุรี (พิบูลสงคราม 3)
สะพานพระราม 5
N29/1
N29
พิบูลสงคราม 2
ไม่จอด
วัดเขียน
N28
วัดตึก
N27
N26
วัดเขมา
N25
พิบูลสงคราม 1
ไม่จอด
พระราม 7
N24
ข้ามเขต
จังหวัด
นนทบุรี
กรุงเทพ
N23
วัดสร้อยทอง
MRT (Bangkok) logo.svg บางโพ บางอ้อ – เตาปูน
N22
บางโพ MRT (Bangkok) logo.svg
N21
เกียกกาย
N20
เขียวไข่กา
จอดเป็นบางเที่ยว
N19
กรมชลประทาน
จอดเป็นบางเที่ยว
N18
พายัพ
วัดเทพากร
N17/1
ไม่จอด
วัดเทพนารี
N17
ไม่จอด
สะพานกรุงธน
N16
N15
เทเวศร์
พระราม 8
N14
ไม่จอด
N13
พระอาทิตย์
พระปิ่นเกล้า
N12
ท่ารถไฟ
N11
MRT (Bangkok) Orange logo.svg พรานนก (วังหลัง)
N10
N9
ท่าช้าง
N8
ท่าเตียน
ปิดปรับปรุง จอดที่ท่าวัดอรุณแทน
วัดอรุณ
MRT (Bangkok) logo.svg สนามไชย อิสรภาพ – สามยอด
N7
ราชินี MRT (Bangkok) logo.svg
N6/1
ยอดพิมาน
ไม่จอด
N6
สะพานพุทธ
N5
ราชวงศ์
N4
กรมเจ้าท่า
N3
สี่พระยา
 สายสีทอง  ไอคอนสยาม
N2/1
สายธงส้มเพิ่มจุดจอดชั่วคราว
N2
วัดม่วงแค
ไม่จอด
N1
โอเรียนเต็ล
BTS-Logo.svg สะพานตากสิน กรุงธนบุรี – สุรศักดิ์
CEN
สาทร BTS Dark Green.svg
S1
วัดเศวตฉัตร
ปิดปรับปรุง
S2
วัดวรจรรยาวาส
จอดเป็นบางเที่ยว
S3
วัดราชสิงขร
ข้อมูล ณ วันที่ 26 ธันวาคม 2565

ประวัติแก้ไข

เรือด่วนเจ้าพระยา มีจุดเริ่มต้นมาจากการเดินเรือในแม่น้ำเจ้าพระยา โดยองค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (สรพ.) และได้ขายกิจการดังกล่าวให้กับ บริษัท เรือด่วนเจ้าพระยา จำกัด ซึ่งก่อตั้งขึ้นโดย คุณหญิง สุภัทร สิงหลกะ และรับช่วงมาดำเนินงานต่อในปี พ.ศ. 2514[1]

แต่เดิมบริษัทได้ดูแลกิจการเกี่ยวกับเรือข้ามฟากอยู่ก่อนแล้ว และที่ผ่านมาได้ประสบปัญหาเกี่ยวกับการแย่งที่จอดกันระหว่างเรือด่วน และเรือข้ามฟาก เนื่องจากเรือด่วนเป็นกิจการของรัฐบาล จึงมีสิทธิในการเข้าจอดทุกท่าน้ำ นอกจากนี้ได้มีการเปิดเสรีการเดินเรือโดยให้กรมเจ้าท่าเป็นคนกำกับดูแล ทำให้มีความหนาแน่นสูงในการเข้าเทียบท่าเกิดปัญหาและเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ เมื่อรัฐบาลขายกิจการจึงได้เข้าซื้อเพื่อบริหารงานทางน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาได้อย่างสมบูรณ์แบบขึ้น[2]

เส้นทางเดินเรือแก้ไข

ปัจจุบัน เรือด่วนเจ้าพระยาประกอบไปด้วยเส้นทางเดินเรือจำนวน 5 สาย[3] มีเรือให้บริการ 65 ลำ ให้บริการ 38 ท่าตลอดระยะทางประมาณ 32 กิโลเมตร[4] ครอบคลุมตั้งแต่ท่าน้ำปากเกร็ด ไปจนถึง ท่าวัดราชสิงขร โดยมีเส้นทางหลัก ประกอบไปด้วย

  • เรือด่วน  ธงส้ม  เป็นเรือด่วนพิเศษ ให้บริการในเส้นทางตั้งแต่ ท่านนทบุรี - ท่าวัดราชสิงขร ให้บริการทุกวัน ค่าโดยสาร 16 บาทตลอดทั้งสาย
  • เรือด่วน  ธงเหลือง  เป็นเรือด่วนพิเศษ ให้บริการในเส้นทางตั้งแต่ ท่านนทบุรี - ท่าสาทร ให้บริการวันจันทร์ - ศุกร์ ค่าโดยสาร 21 บาทตลอดทั้งสาย
  • เรือด่วน  ธงเขียวเหลือง  เป็นเรือด่วนพิเศษ ให้บริการในเส้นทางตั้งแต่ ท่าปากเกร็ด - ท่าสาทร ให้บริการวันจันทร์ - ศุกร์ ค่าโดยสาร แบ่งเป็น 3 อัตรา ปากเกร็ด-นนทบุรี 14 บาท นนทบุรี-สาทร 21 บาท และ ปากเกร็ด-สาทร 33 บาท
  • เรือด่วน  ธงแดง  เป็นเรือด่วนแบบปรับอากาศ มีชื่อเรียกอีกชื่อว่า ริว่า เอ็กเพรส ให้บริการในเส้นทางตั้งแต่ ท่านนทบุรี - ท่าสาทร ให้บริการทุกวัน ค่าโดยสาร 30 บาทตลอดทั้งสาย (ปกติ 50 บาท)
  • เรือโดยสารประจำทาง (ไม่มีธง) ปัจจุบันงดให้บริการชั่วคราว[1]

เรือท่องเที่ยวธงสีฟ้าแก้ไข

นอกจากเรือด่วนแล้ว เรือด่วนเจ้าพระยายังให้บริการเรือท่องเที่ยว โดย บริษัท เจ้าพระยาทัวร์ริสท์โบ๊ท จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทในกลุ่มสุภัทรา กำหนดสัญลักษณ์ด้วยธงสีฟ้า เป็นการวิ่งระยะสั้นระหว่างท่าพระอาทิตย์กับท่าสาทร โดยในช่วงเย็นจะขยายเส้นทางไปจนถึงเอเชียทีค ให้บริการทุกวัน[5][6]

  • ขาไป ออกจากท่าพระอาทิตย์ ไปยังท่าสาทร เที่ยวแรกเวลา 8.30 น. เที่ยวสุดท้ายเวลา 17.00 น. ความถี่ 30 นาทีต่อรอบ ตั้งแต่เวลา 15.30 น. จะขยายเส้นทางไปจนถึงเอเชียทีค
  • ขากลับ ออกจากท่าสาทร ไปยังท่าพระอาทิตย์ เที่ยวแรกเวลา 09.00 น. เที่ยวสุดท้ายเวลา 17.30 น. ความถี่ 30 นาทีต่อรอบ

ท่าเรือแก้ไข

 
N33
ปากเกร็ด  
 
N32
วัดกลางเกร็ด
 
N31/1
บ้านพักข้าราชบริพารติวานนท์
 
N31
กระทรวงพาณิชย์
 
 
 
 
 
N30/1
พระนั่งเกล้า  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
  สะพานพระนั่งเกล้า   ไทรม้า – แยกนนทบุรี 1  
 
 
 
 
N30
นนทบุรี (พิบูลสงคราม 3)
สะพานพระราม 5
N29/1
 
 
 
 
 
 
 
 
N29
พิบูลสงคราม 2
ไม่จอด
วัดเขียน
N28
 
 
 
 
วัดตึก
N27
 
 
 
 
 
 
 
 
N26
วัดเขมา
 
 
 
 
N25
พิบูลสงคราม 1
ไม่จอด
พระราม 7
N24
 
 
 
 
ข้ามเขต
 
 
 
 
จังหวัด
  นนทบุรี
 
 
 
 
 
กรุงเทพ  
 
 
 
 
N23
วัดสร้อยทอง
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
  บางโพ   บางอ้อ – เตาปูน  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
N22
บางโพ  
 
 
 
 
N21
เกียกกาย
 
 
 
 
N20
เขียวไข่กา
จอดเป็นบางเที่ยว
 
 
 
 
N19
กรมชลประทาน
จอดเป็นบางเที่ยว
 
 
 
 
N18
พายัพ
วัดเทพากร
N17/1
 
 
 
 
ไม่จอด
วัดเทพนารี
N17
 
 
 
 
ไม่จอด
สะพานกรุงธน
N16
 
 
 
 
 
 
 
 
N15
เทเวศร์
พระราม 8
N14
 
 
 
 
ไม่จอด
 
 
 
 
N13
พระอาทิตย์
พระปิ่นเกล้า
N12
 
 
 
 
ท่ารถไฟ
N11
 
 
 
 
  พรานนก (วังหลัง)
N10
 
 
 
 
 
 
 
 
N9
ท่าช้าง
 
 
 
 
N8
ท่าเตียน
ปิดปรับปรุง จอดที่ท่าวัดอรุณแทน
วัดอรุณ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
  สนามไชย   อิสรภาพ – สามยอด  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
N7
ราชินี  
 
 
 
 
N6/1
ยอดพิมาน
ไม่จอด
 
 
 
 
N6
สะพานพุทธ
 
 
 
 
N5
ราชวงศ์
 
 
 
 
N4
กรมเจ้าท่า
 
 
 
 
 
 
N3
สี่พระยา
 สายสีทอง  ไอคอนสยาม
N2/1
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
สายธงส้มเพิ่มจุดจอดชั่วคราว
 
 
 
 
 
 
N2
วัดม่วงแค
ไม่จอด
 
 
 
 
N1
โอเรียนเต็ล
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
  สะพานตากสิน   กรุงธนบุรี – สุรศักดิ์  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
CEN
สาทร  
 
S1
วัดเศวตฉัตร
ปิดปรับปรุง
 
S2
วัดวรจรรยาวาส
จอดเป็นบางเที่ยว
 
S3
วัดราชสิงขร
ข้อมูล ณ วันที่ 26 ธันวาคม 2565

อ้างอิงแก้ไข

  1. 1.0 1.1 "เกี่ยวกับเรา | เรือด่วนเจ้าพระยา". CPX.
  2. ศรีวิลาศ, นภษร (2020-05-10). "สุภัทรา กิจการเดินเรืออายุ 100 ปีของไทยที่หาโอกาสใหม่ได้ในทุกวิกฤต". The Cloud.
  3. "เรือโดยสาร | เส้นทางและตารางเรือ | Chao Phraya Express Boat เรือด่วนเจ้าพระยา". Express Boat.
  4. "ThaiPBS Copyrights - Program". www2.thaipbs.or.th.
  5. LivingPop, Fuse (2022-04-21). "รู้จักกับ "เรือด่วนเจ้าพระยา" เคล็ดลับการเดินทางหนีรถติดบนท้องถนนใน กทม. (มีแผนที่+ตารางเรือให้โหลดด้วยนะ)". Living Pop.
  6. "Chao Phraya Tourist Boat". chaophrayatouristboat.com.

แหล่งข้อมูลอื่นแก้ไข