เทเวนทรนาถ ฐากุร

(เปลี่ยนทางจาก เทเพนทรนาถ ฐากุร)

เทเวนทรนาถ ฐากุร (อักษรโรมัน: Debendranath Tagore, 15 พฤษภาคม 1817 – 19 มกราคม 1905) เป็นนักปรัชญาและนักปฏิวัติทางศาสนาชาวอินเดีย มีบทบาทหลักอยู่ในพรหโมสมาช ซึ่งเขาเข้าร่วมเมื่อปี 1842 ในปี 1848 เขาสถาปนาศาสนาพรหโมขึ้น ที่ซึ่งปัจจุบันคล้ายคลึงกันกับลัทธิพรหโม[2][3] เทเวนทรนาถเกิดที่ศีหลทหะ บิดาเป็นนักอุตสาหกรรม ทวารกนาถ ฐากุร[4] เทวเนทรนาถมีบุตรธิดารวม 14 คน รวมถึง รพินทรนาถ ฐากุร ผู้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม[5][6]

Debendranath Tagore
ภาพถ่ายบุคคลของเทเวนทรนาถ ฐากุร
เกิด15 พฤษภาคม ค.ศ. 1817(1817-05-15)
กัลกัตตา รัฐเบงกอล บริติชอินเดีย[1]
เสียชีวิต19 มกราคม ค.ศ. 1905(1905-01-19) (87 ปี)
กัลกัตตา รัฐเบงกอล บริติชอินเดีย
สัญชาติอินเดีย
อาชีพนักปฏิรูปศาสนา
ขบวนการฟื้นฟูศิลปวิทยาการเบงกอล
คู่สมรสสรทสุนทรี เทวี
บุตร15 รวมถึง ทวิเชนทรนาถ ฐากุร, สัตเยนทรนาถ ฐากุร, เหเมนทรนาถ ฐากุร, ชโยติรินทรนาถ ฐากุร, รวินทรนาถ ฐากุร (ลูกคนที่ 14), สวรรนกุมารี เทวี
บิดามารดา
  • เจ้าชายทวารกนาถ ฐากุร (บิดา)
  • ทิคัมพรี เทวี (มารดา)

อ้างอิง

แก้
  1. Chaudhuri, Narayan (2010) [1973]. Maharshi Debendranath Tagore. Makers of Indian Literature (2nd ed.). New Delhi: Sahitya Akademi. p. 11. ISBN 978-81-260-3010-1.
  2. মজুমদার, চিরশ্রী. ভোগেরে বেঁধেছ তুমি সংযমের সাথে. www.anandabazar.com (ภาษาเบงกอล). สืบค้นเมื่อ 2022-02-28.
  3. গুপ্ত, মহেন্দ্রনাথ; Gupta, Mahendranath (2020-05-24). শ্রীরামকৃষ্ণ কথামৃত (Shri Ramakrishna Kathamrita): তৃতীয় খন্ড (ภาษาเบงกอล). Indic Publication. ISBN 978-1-62598-077-9.
  4. "Builders of Bengal: Debendranath Tagore". The Telegraph. สืบค้นเมื่อ 2022-02-28.
  5. "'Multifaceted genius': Rabindranath Tagore remembered on his 80th death anniversary". Hindustan Times (ภาษาอังกฤษ). 2021-08-07. สืบค้นเมื่อ 2022-02-28.
  6. কবির পিতা, এই কি তাঁর একমাত্র পরিচয়?. EI Samay (ภาษาเบงกอล). สืบค้นเมื่อ 2022-02-28.