เทศบาลตำบลแหลมฟ้าผ่า

เทศบาลตำบลในอำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ ประเทศไทย

เทศบาลตำบลแหลมฟ้าผ่า เป็นเทศบาลตำบลซึ่งมีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดของหมู่ที่ 1, 6 และพื้นที่บางส่วนของหมู่ที่ 2–4, 13 ตำบลแหลมฟ้าผ่า กับพื้นที่บางส่วนของหมู่ที่ 4, 7, 9 ตำบลในคลองบางปลากด อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ เดิมมีฐานะเป็นสุขาภิบาลแหลมฟ้าผ่าที่จัดตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2537[2] แล้วได้รับการจัดตั้งเป็นเทศบาลตำบลใน พ.ศ. 2542[3] ปัจจุบันในเขตเทศบาลมีประชากร 21,421 คน

เทศบาลตำบลแหลมฟ้าผ่า
คลองสรรพสามิตในเขตเทศบาลตำบลแหลมฟ้าผ่า
คลองสรรพสามิตในเขตเทศบาลตำบลแหลมฟ้าผ่า
ทต.แหลมฟ้าผ่าตั้งอยู่ในจังหวัดสมุทรปราการ
ทต.แหลมฟ้าผ่า
ทต.แหลมฟ้าผ่า
ที่ตั้งสำนักงานเทศบาลตำบลแหลมฟ้าผ่า
พิกัด: 13°34′09.7″N 100°33′45.1″E / 13.569361°N 100.562528°E / 13.569361; 100.562528
ประเทศ ไทย
จังหวัดสมุทรปราการ
อำเภอพระสมุทรเจดีย์
จัดตั้ง • 13 ตุลาคม 2537 (สุขาภิบาลแหลมฟ้าผ่า)
 • 25 พฤษภาคม 2542 (ทต.แหลมฟ้าผ่า)
พื้นที่
 • ทั้งหมด7.00 ตร.กม. (2.70 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2564)[1]
 • ทั้งหมด21,421 คน
 • ความหนาแน่น3,060.14 คน/ตร.กม. (7,925.7 คน/ตร.ไมล์)
รหัส อปท.05110502
ที่อยู่
สำนักงาน
เลขที่ 999 หมู่ที่ 5 ถนนสุขสวัสดิ์-นาเกลือ ตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ 10290
เว็บไซต์www.laemfhapa.go.th
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

พื้นที่เทศบาลตำบลอยู่บริเวณเขตศูนย์ราชการต่าง ๆ ของอำเภอพระสมุทรเจดีย์ เทศบาลอยู่ห่างจากศาลากลางจังหวัดสมุทรปราการประมาณ 24.1 กิโลเมตร อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 30.1 กิโลเมตรตามทางรถยนต์ ด้านตะวันออกของเขตเทศบาลมีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านเป็นแหล่งน้ำสำคัญ มีพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด 7.0 ตารางกิโลเมตรหรือคิดเป็น 4,375.0 ไร่

ที่ตั้งและอาณาเขต แก้

เขตเทศบาลตำบลแหลมฟ้าผ่ามีอาณาเขตติดต่อกับเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นข้างเคียงดังนี้

อ้างอิง แก้

  1. ประชากรในเขตท้องถิ่นเทศบาลตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ พ.ศ. 2564 โดยกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย.
  2. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งสุขาภิบาลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 111 (82 ง): 35–37. 13 ตุลาคม 1994.
  3. "พระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะของสุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ. ๒๕๔๒" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 116 (9 ก): 1–4. 24 กุมภาพันธ์ 1999. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2008-04-09. สืบค้นเมื่อ 2022-02-05.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้