เทลอาวีฟ-ยาโฟ (ฮีบรู: תֵּל־אָבִיב–יָפוֹ ‎ – Tel Aviv-Yafo [tel aˈviv ˈjafo]; อาหรับ: تَلّ أَبِيب - يَافَاTall ʾAbīb - Yāfā) หรือมักเรียก เทลอาวีฟ (อังกฤษ: Tel Aviv) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 2 ของประเทศอิสราเอล มีประชากรราว 405,000 คน[1] เป็นเมืองที่ตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ด้วยพื้นที่ 51.8 ตร.กม. (20.0 ตร.ไมล์)

เทลอาวีฟ-ยาโฟ

תל־אביב–יפו (ฮีบรู)
تل أبيب - يافا (อาหรับ)
ธงของเทลอาวีฟ-ยาโฟ
ธง
ตราราชการของเทลอาวีฟ-ยาโฟ
ตราอาร์ม
สมญา: 
ประเทศธงของประเทศอิสราเอล อิสราเอล
อำเภอเทลอาวีฟ
เขตนครหลวงกุชดาน
ก่อตั้ง11 เมษายน ค.ศ. 1909
ตั้งชื่อจากเทลอะบีบใน Ezekiel 3:15, via Herzl's Altneuland
การปกครอง
 • ประเภทนายก-สภา
 • องค์กรเทศบาลเทลอาวีฟ
 • นายกRon Huldai (พรรคแรงงาน)
พื้นที่
 • นคร51.4 ตร.กม. (19.8 ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง176 ตร.กม. (68 ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล1,516 ตร.กม. (585 ตร.ไมล์)
ความสูง5 เมตร (16 ฟุต)
ประชากร
 (2010)[1]
 • นคร405,000 คน
 • อันดับ2nd in Israel
 • ความหนาแน่น7,867.7 คน/ตร.กม. (20,377 คน/ตร.ไมล์)
 • อันดับความหนาแน่น12th in Israel
 • เขตเมือง1,284,400 คน
 • ความหนาแน่นเขตเมือง7,297.7 คน/ตร.กม. (18,901 คน/ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล3,850,000 คน
 • ความหนาแน่นรวมปริมณฑล2,193.7 คน/ตร.กม. (5,682 คน/ตร.ไมล์)
เดมะนิมTel Avivian[2][3][4]
สัญชาติ
 • ยิว91%
 • มุสลิม3%
 • คริสเตียน1%
 • ไม่จัดอันดับ5%
เขตเวลาUTC+2 (IST)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC+3 (IDT)
รหัสไปรษณีย์61999
เขตพื้นที่+972 (Israel) 3 (City)
GDP153.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[5]
GDP ต่อหัว42,614 ดอลลาร์สหรัฐ[5]
เว็บไซต์tel-aviv.gov.il

เทลอาวีฟก่อตั้งในปี ค.ศ. 1909 บนเขตพื้นที่รอบนอกของเมืองท่าโบราณจัฟฟา (ฮีบรู: יָפוֹ ‎, Yafo; อาหรับ: يافا, Yaffa) ความเจริญของเทลอาวีฟได้ก้าวไปไกลกว่าเมืองจัฟฟาที่ในตอนนั้นเป็นของอาหรับอยู่ จนเทลอาวีฟและจัฟฟาถูกรวมเป็นเมืองเดียวกันในปี ค.ศ. 1950 สองปีหลังจากการก่อตั้งรัฐอิสราเอล นครสีขาวแห่งเทลอาวีฟได้รับการขึ้นเป็นมรดกโลกในปี 2003 ถือเป็นการรวมกลุ่มอาคารสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ ที่ใหญ่ที่สุดในโลก[6][7][8]

เทลอาวีฟเป็นเมืองเศรษฐกิจที่สำคัญและเป็นเมืองที่มั่งคั่งที่สุดในอิสราเอล เป็นที่ตั้งของตลาดหุ้นเทลอาวีฟและสำนักงานและศูนย์กลางการพัฒนาและวิจัยหลายแห่ง[9] การที่เมืองมีชายหาด บาร์ คาเฟ่ ร้านอาหาร ร้านค้าราคาแพง ภูมิอากาศที่ดีและชีวิตคนเมือง ทำให้เป็นจุดหมายปลายทางของนักท่องเที่ยวทั้งในประเทศและต่างประเทศ[10][11] และยังได้ฉายาว่า "เมืองที่ไม่เคยหลับ"[12][13]

และยังเป็นเมืองหลวงการเงินของประเทศ และเป็นศูนย์กลางด้านศิลปะการแสดงและศูนย์กลางการค้า[14] เขตเมืองของเทลอาวีฟยังเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 2 ของตะวันออกกลางด้านเศรษฐกิจ[15] และเป็นเมืองที่มั่งคั่งที่สุดในโลกในอันดับที่ 17[16]

บุคคลที่มีชื่อเสียง

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. 1.0 1.1 "לוח 3.- אוכלוסייה( 1), ביישובים שמנו מעל 2,000 תושבים( 2) ושאר אוכלוסייה כפרית POPULATION(1) OF LOCALITIES NUMBERING ABOVE 2,000 RESIDENTS(2) AND OTHER RURAL POPULATION" (PDF). สืบค้นเมื่อ 2010-01-25. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  2. Azaryahu, Maoz (2007). Tel Aviv: Mythography of a City. Syracuse, New York: Syracuse University Press. pp. 133–134. ISBN 9780815631293.
  3. Mann, Barbara E. (2006). A Place in History: Modernism, Tel Aviv, and the Creation of Jewish Urban Space. Stanford, California: Stanford University Press. pp. 148, 166. ISBN 9780804750196.
  4. The Cities Book: A Journey Through the Best Cities in the World. Melbourne, Oakland and London: Lonely Planet. 2009. pp. 380–381. ISBN 9781741798876.
  5. 5.0 5.1 "Global city GDP 2014". Brookings Institution. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 June 2013. สืบค้นเมื่อ 18 November 2014.
  6. "The White City of Tel Aviv" (PDF). UNESCO. สืบค้นเมื่อ 2008-03-29.
  7. Strimpel, Zoe (2008-02-16). "Hip and happening in Tel Aviv". The Times. สืบค้นเมื่อ 2008-02-16.
  8. "Economist City Guide-Tel Aviv". The Economist. สืบค้นเมื่อ 2008-01-21.
  9. "New Economy: Silicon Wadi". Wired. 1998-04-16. สืบค้นเมื่อ 2008-02-02.
  10. "An ugly scrap at Heathrow for the 'best-looking kid on the block'". Independent on Sunday. 2008-03-30. สืบค้นเมื่อ 2008-03-30.
  11. "The world's top 10 party towns". Sydney Morning Herald. 2009-11-19. สืบค้นเมื่อ 2009-11-19.
  12. Rabinovitch, Ari (2009-01-14). "Out of rocket range, Tel Aviv bustles as war rages". Reuters. สืบค้นเมื่อ 2009-04-22.
  13. One Tel of a great holiday[ลิงก์เสีย] (January 31, 2010), News of the World, Retrieved 2010–01–31
  14. Kipnis, B.A. (2001-10-08). "Tel Aviv, Israel - A World City in Evolution: Urban Development at a Deadend of the Global Economy". Globalization and World Cities Study Group and Network at Loughborough University. สืบค้นเมื่อ 2007-07-17. Cities in Transition. Ljubljana: Department of Geography, University of Ljubljana, pp. 183-194.
  15. "The 150 Richest Cities in the World by GDP in 2005". สืบค้นเมื่อ 2009-01-13.
  16. "Cost of living — The world's most expensive cities". City Mayors.